Issue 2: Disaster and Rehabilitation

Gender And the Management of Nature Reserves in Vietnam (Abstract)

         The Vietnamese government has tried to address problems of environmental degradation and rural poverty by creating nature reserves and introducing policies to benefit communities in and around them. However, these policies sometimes conflict and […]

Issue 2: Disaster and Rehabilitation

Gender dan Pengelolaan Kawasan Konservasi di Vietnam

         Pemerintah Vietnam telah mencoba mengatasi masalah kerusakan lingkungan dan kemiskinan di pedesaan dengan menciptakan kawasan konservasi dan memperkenalkan kebijakan yang dapat mendatangkan keuntungan bagi masyarakat dan sekitarnya. Namun, kadang-kadang kebijakan tersebut menciptakan konflik dan […]

Issue 2: Disaster and Rehabilitation

ベトナムの自然保護区における管理とジェンダー

         ベトナム政府は、自然保護区の設置や地域住民の利益を配慮することで、環境劣化や地方の貧困問題に取り組んでいる。しかし、こうした政策はしばし紛争を引き起こし、性差による不平等を生み出してきた。ビン・チャウ・フック・ブー保護区のキン族部落と、コン・カー・キン保護区のバナー族部落という、二つの自然保護区に位置する地方自治体の事例から、土地や技術訓練、借入金、天然資源への男女間のアクセスの差異、性差が地域や家族内の意思決定に及ぼす役割などを紹介したい。 1993年土地法は、土地配分において差別が生じないよう規定している。しかし、先のキン族部落では、土地所有者名義の80%が男性であった。バナー族部落では、土地証書自体がなく、自発的な国内移住の増加にともない、違法な土地売買が生じている。両部落では、夫が妻の同意なく家族の土地を売りにだしてしまっていた。 伝統的な自給作物から商品作物栽培への移行や、水稲耕作の導入により、訓練や資本を必要とする新しい栽培技術が必要となった。技術指導プログラムは、男性に対して行われており、女性は情報や制度的なネットワークの欠如、低識字率、男性優位の意識によって脇へと追いやられてきた。バナー族の事例では、言葉の障壁が大きな問題であった。女性が借入金を得ることも難しかった。銀行による小規模借入金プログラムは、縁者がいることや、ある程度の教育を受けていることが前提となっている。また、女性同盟の小規模借入金プログラムは硬直状態にある。 米の生産性は貧弱な土地のため低く、男性はわずかな賃金を求めて出稼ぎに出ることになる。労働機会のない女性は、環境劣化や保護政策の推進により減少してしまった森林資源の採集に労働を集中させることになる。家計維持の分野で周辺化されてしまった貧しい女性は、天然資源の減少に対して有効な対応策をもっていない。こうしたさまざまな要因が、家族や地域での意思決定における女性の立場に制限を与えてしまっている。 政策決定者は、自然保護区の保護には性差に対する認識が不可避であることを自認し、土地や資源に対する男女間の不平等を是正しなければならない。土地法は、共同所有者としての女性を登記するよう改正されねばならない。また、女性に対する借入金や、技術訓練プログラムも必要となる。さらに地方行政は、女性住民の知識や能力を生かした組織改革を行う必要がある。 Tuong Vi Pham Read the full unabridged article (in English) HERE Kyoto Review of Southeast Asia. Issue 2 (October 2002). Disaster and Rehabilitation  

Issue 2: Disaster and Rehabilitation

เพศกับการบริหารเขตอนุรักษ์ในเวียดนาม

         รัฐบาลเวียดนามได้พยายามแก้ปัญหาความเสื่อมโทรมของสภาวะแวดล้อมและปัญหาความยากจนตลอดมา ด้วยการจัดตั้งเขตอนุรักษ์และเริ่มใช้นโยบายที่ให้ประโยชน์แก่ชุมชนซึ่งอาศัยอยู่ในเขตอนุรักษ์และโดยรอบ   อย่างไรก็ตาม นโยบายเหล่านี้บางครั้งก็ขัดแย้งกันเอง และสร้างความเหลื่อมล้ำทางเพศ   ตัวอย่างในกรณีศึกษาต่อไปนี้ได้จากชุมชนที่ตั้งอยู่ในเขตอนุรักษ์สองแห่ง คือหมู่บ้านเผ่าคินห์ในเขตอนุรักษ์บินห์เชาฟวคบู และหมู่บ้านเผ่าบานาในเขตอนุรักษ์คอนคาคินห์   ทั้งสองกรณีแสดงให้เห็นถึงความแตกต่างระหว่างชายและหญิงในเรื่องโอกาสใช้ที่ดิน  การฝึกอบรม สินเชื่อ ทรัพยากรธรรมชาติ  และบทบาทในการเป็นผู้ตัดสินใจในระดับครอบครัวและชุมชน กฎหมายที่ดิน ฉบับปี 1993 ระบุว่าการจัดสรรที่ดินจะต้องกระทำโดยปราศจากการเลือกปฏิบัติ  ทว่าร้อยละ 80 ของใบรับรองการใช้ที่ดินได้ให้ไว้ในนามของหัวหน้าครอบครัวที่เป็นผู้ชาย    ในหมู่บ้านบานา มีการลักลอบขายที่ดิน    เนื่องจากไม่มีการออกใบรับรองการใช้ที่ดินและจำนวนผู้อพยพเข้ามาอยู่ที่เพิ่มขึ้นโดยไม่รู้ตัว  ในทั้งสองหมู่บ้าน สามีได้ขายที่ดินของครอบครัวโดยไม่ได้ขออนุญาตจากภรรยาของตนก่อน   การหันไปปลูกพืชเศรษกิจและข้าวเปียกแทนพืชที่เป็นอาหารดั้งเดิมหมายถึงการใช้เทคนิคใหม่ ๆ ที่ต้องอาศัยการฝึกฝนและเงินทุน  ขณะที่ชาวนาซึ่งเป็นผู้ชายได้เข้ารับการอบรม  ผู้หญิงกลับถูกละเลยเนื่องจากไม่ได้รับข่าวสาร ขาดเครือข่ายที่เข้มแข็ง ไม่รู้หนังสือ และอคติของผู้ชาย    ในกรณีของหมู่บ้านบานา อุปสรรคคือภาษา  โอกาสที่ผู้หญิงจะได้รับสินเชื่อก็น้อยมาก  ขณะที่โครงการสินเชื่อขนาดย่อมของธนาคารมีข้อแม้ว่าจะต้องมีหลักประกันการกู้ยืมและการศึกษาในระดับหนึ่ง   โครงการสหภาพสินเชื่อขนาดย่อมของผู้หญิงมีเงื่อนไขที่เข้มงวดมาก   ดินที่มีคุณภาพต่ำเป็นสาเหตุให้ผลผลิตข้าวต่ำ ส่งผลให้ค่าแรงที่ฝ่ายชายได้รับต่ำไปด้วย   ผู้หญิงซึ่งไม่มีโอกาสทำงานจึงต้องเข้าป่าเพื่อเก็บของป่าเพิ่มมากขึ้น ทั้ง ๆ ที่ของป่าเหล่านี้กำลังร่อยหรอลงทุกทีอันเนื่องมาจากความเสื่อมโทรมและนโยบายการบริหารการอนุรักษ์  การถูกกีดกันจากบทบาทเรื่องความอยู่รอดของครอบครัวทำให้สตรียากจนมีสิทธิ์มีเสียงไม่มากในเรื่องทรัพยากรธรรมชาติซึ่งร่อยหรอลง  ปัจจัยต่าง ๆ ที่กล่าวมาทั้งหมดนี้ล้วนจำกัดบทบาทของสตรีในการตัดสินใจในระดับครอบครัวและชุมชน   ผลที่ได้จากการศึกษาในครั้งนี้ชี้แนะว่าความรู้ในเรื่องความเหลื่อมล้ำระหว่างเพศน่าจะช่วยให้ผู้กำหนดนโยบายสามารถคุ้มครองเขตอนุรักษ์และแก้ปัญหาโอกาสที่เหลื่อมล้ำในการใช้ที่ดินและทรัพยากร  ข้อเสนอแนะประการหนึ่งคือควรทบทวนกฎหมายที่ดินเพื่อให้สตรีมีสิทธิร่วมเป็นเจ้าของที่ดินได้ อีกประการหนึ่งคือควรมีโครงการพิเศษที่มุ่งให้สินเชื่อและการอบรมแก่สตรี  และประการสุดท้ายคือปรับโครงสร้างการปกครองในระดับท้องถิ่นเพื่อเปิดโอกาสให้ชาวบ้านสตรีที่มีความรู้ความสามารถเข้ามาบริหารงานได้ […]

Issue 2: Disaster and Rehabilitation

Kasarian at ang Pangangasiwa sa mga Nature Reserve ng Biyetnam

         Tinangkang lutasin ng pamahalaang Biyetnames ang mga suliranin ng pagkasira ng kalikasan at paghihirap sa lalawigan sa pamamagitan ng paglikha ng mga nature reserve at pagpapatupad ng mga patakarang makatutulong sa mga pamayanan sa loob at […]

Issue 2: Disaster and Rehabilitation

Vietnam: Is Sustainable Mangrove Management Possible?

         Vietnam’s mangrove resources have decreased rapidly in area and quality during the on-going period of Doi Moi (renovation reforms), which started in 1986. Uncontrolled wood extraction, paddy area expansion, mining activities, construction of dikes, […]

Issue 2: Disaster and Rehabilitation

Vietnam: Is Sustainable Mangrove Management Possible? (Abstract)

         This paper presents a study of the institutional potential for community-based natural resource management (CBNRM) in mangrove forests in Vietnam. CBNRM has attracted international attention and debate, but has not yet been widely implemented […]

Issue 2: Disaster and Rehabilitation

Apakah Mungkin Pengelolaan Bakau Berkelanjutan?

         Tulisan ini menyajikan studi tentang potensi institusi untuk pengelolaan sumberdaya hayati berbasis masyarakat (PSHBM) di hutan bakau di Vietnam. PSHBM telah menarik perhatian dan perdebatan internasional, tetapi belum dilaksanakan secara luas di Vietnam. Ada […]

Issue 2: Disaster and Rehabilitation

持続可能なマングローブ林管理は可能なのか?

         本論は、ベトナムのマングローブ林を対象に実施されている地域主導型資源管理の制度的潜在性に関する論考である。地域主導型資源管理は、国際的な注目を集め盛んに議論が行われているが、ベトナムで広範に実施されているわけではない。このシステムの目的は、国家組織や合作社、1980年以降は世帯レベルの集中的資源管理にある。本論では、国有化や私有化という観点からではなく、資源枯渇や乱獲という面から議論を進めたい。 ここでは事例として、ナムディン省ザオトゥイ県ザオラック村でのマングローブ林管理をとりあげる。植民地期を通じて、地域住民による資源利用は公的な規制がなかったにも関わらず持続性をもっていた。集団化が進んだ時代(1956-1975年)、県の行政府は堤防の保護という目的でマングローブ林を管理していた。地域住民はマングローブ林の使用を禁止されたため、資源へのアクセスは不正利用になってしまった。1980年代のドイモイ政策は経済機会を広げ、それがマングローブの破壊を引き起こした。資本や管理技術、政治力をもつ者は、マングローブ林から生み出される資源(特に養殖によるエビやカニ)から利益を得るようになった。貧困層の人々は、稲作以外の副業として重要な様々な資源を失い、ほとんど利益を得ることができなかった。ドイモイ政策の結果として、低収入層や寡婦世帯は特に村の中で取り残されることになった。 環境保護や生活向上に向けた外国のNGOによるプロジェクトですら、上述のような状況を生み出した。このプロジェクトは、村を囲むマングローブ林の再生を目的としていた。村では2005年のプロジェクト終了を控え、社会的平等や生産性、持続性を考慮した管理システムを考えねばならない状態にある。こうした問題への対案の一つとしては、資金不足にある既存の社会組織や貯蓄組合への資金供出を募ることである。もう少し大きな全体案としては、国家と個人、共同体がそれぞれ協調すること、すなわちザオラック村の場合だと、国家機関が堤防を、各世帯がエビ池を、共同体がエビ池の内側や周辺にあるマングローブ林を管理することである。 Le Thi Van Hue Read the full unabridged article (in English) HERE  Kyoto Review of Southeast Asia. Issue 2 (October 2002). Disaster and Rehabilitation  

Issue 2: Disaster and Rehabilitation

การจัดการป่าชายเลนแบบยั่งยืนเป็นไปได้หรือไม่

         บทความนี้รายงานการศึกษาศักยภาพของสถาบันในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติชุมชนในป่าชายเลนของเวียดนาม  การจัดการทรัพยากรธรรมชาติชุมชนดังกล่าวนี้ได้รับความสนใจและเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ในระดับนานาชาติ   แต่ยังไม่ได้มีการนำไปใช้อย่างกว้างขวางในประเทศเวียดนาม  ซึ่งกลยุทธ์หลัก ๆ ยังคงอาศัยการจัดการแบบรวมอำนาจ  โดยหน่วยงานรัฐหรือสหกรณ์หมู่บ้าน และการจัดการโดยครัวเรือนโดด ๆ ซึ่งเริ่มมีขึ้นนับตั้งแต่ทศวรรษ 1980เป็นต้นมา  บทความนี้เสนอข้อคิดเห็นว่าการโอนกิจการเป็นของรัฐหรือการแปรรูปวิสาหกิจต่างไม่สามารถแก้ปัญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรและการแสวงหาผลประโยชน์จากทรัพยากรจนเกินขอบเขต  และมีหลาย ๆ กรณีที่การแปรรูปวิสาหกิจทำให้ครอบครัวชนบทต้องไร้ทางทำมาหากิน ข้อคิดเห็นดังกล่าวนี้จะแสดงไว้ในกรณีศึกษาของการจัดการป่าชายเลนในหมู่บ้านเกียวลัค  อำเภอ เกียวทาย จังหวัดนำดินห์ ในช่วงเวลาส่วนใหญ่ของยุคอาณานิคม ชาวบ้านรู้จักวิธีใช้ทรัพยากรแบบยั่งยืน แม้ว่าจะปราศจากการควบคุมดูแลของทางการ   เมื่อมาถึงยุคร่วมมือ (1956-1975) เจ้าหน้าที่ของอำเภอได้จัดการป่าชายเลนเพื่อที่จะปกป้องกำแพงกั้นน้ำของส่วนกลาง ชาวบ้านไม่ได้รับอนุญาตให้เข้าใช้ไปประโยชน์จากป่าอีกต่อไปทำให้เกิดการลักลอบจับสัตว์ขึ้นเป็นครั้งแรก การปฎิรูปทางเศรษฐกิจที่เรียกว่า Doi Moi ซึ่งเริ่มดำเนินมาตั้งแต่ทศวรรษ 1980 ก่อให้เกิดความไม่เท่าเทียมกันทางเศรษฐกิจตลอดจนการทำลายถิ่นที่อยู่ของพืชและสัตว์ ผู้ที่มีเงินทุน ความชำนาญในการจัดการ และอำนาจทางการเมืองสามารถหาผลประโยชน์จากทรัพยากรที่มาจากป่าชายเลน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการทำฟาร์มกุ้งและฟาร์มหอยกาบ ผู้ได้รับประโยชน์น้อยที่สุดได้แก่คนยากจน ซึ่งต้องเสียแหล่งรายได้เสริมการทำนาข้าว   การปฏิรูป Doi Moi มีผลทำให้ครอบครัวที่มีรายได้น้อยและมีหัวหน้าครอบครัวเป็นสตรีถูกละเลย นี่คือความจริงที่เกิดขึ้นแม้จะมีโครงการที่ได้รับเงินทุนช่วยเหลือจากองค์กรนอกภาครัฐสากลซึ่งมุ่งช่วยเหลือสิ่งแวดล้อมและคนยากจนแล้วก็ตาม   โครงการดังกล่าวได้ช่วยฟื้นฟูสภาพป่าชายเลนในบริเวณหมู่บ้าน แต่เนื่องจากโครงการจะสิ้นสุดลงในปี […]

Issue 2: Disaster and Rehabilitation

Posible ba ang Pangmatagalang Pangangalaga sa Bakawan?

         Inilalahad sa papel na ito ang isang pag-aaral hinggil sa kakayahang institusyonal para sa pagpapatupad sa mga bakawan ng Biyetnam ng community-based natural resource management (CBNRM) o pangangalaga sa likas na kayamanan na nakabase sa pamayanan.  Ang […]

Issue 2: Disaster and Rehabilitation

Ecotourism in Vietnam: Potential and Reality

         With 13,000 floral species and over 15,000 faunal species, three newly discovered big animal species, and a ratio of country/world species of 6.3%, Vietnam has enormous tourism—particularly ecotourism—potential. In fact, since 1986, when Doi […]

Issue 2: Disaster and Rehabilitation

Ecotourism in Vietnam: Potential and Reality (Abstract)

         With 13,000 floral species and over 15,000 faunal species, three newly discovered big animal species, and a ratio of country/world species of 6.3%, Vietnam is one of sixteen countries with the highest biodiversity in […]

Issue 2: Disaster and Rehabilitation

Ekowisata di Vietnam: Potensi dan Kenyataan

         Dengan 13.000 spesies tumbuhan dan lebih dari 15.000 spesies hewan, tiga spesies hewan besar temuan terbaru, dan perbandingan spesies negara/dunia besar 6,3%, Vietnam merupakan satu dari enambelas negara dengan keanekaragaman hayati tertinggi di dunia. […]

Issue 2: Disaster and Rehabilitation

ベトナムのエコツーリズム:その潜在性と現実

         ベトナムは、世界第16位の生物多様性をほこる国であり、植物種は13000種、動物種は15000種を数え、これは全世界に分布する生物種の6.3%に及んでいる。生態系の広がりや、市場経済の導入などによって、ベトナムがエコツーリズムに最適な場所であることは間違いない。政府はエコツーリズムを経済発展の先鋒だと位置づけており、実際にここ10年でベトナムに訪れた観光客は7倍に増加している。エコツアーの参加者は、外国観光客の30%、国内観光客の50%にまで達している。エコツーリズムは環境への負荷やインフラへの投資も低くすみ、自然環境や文化に対する教育的役割ももっている。 エコツーリズムの潜在的な対象地域としては海岸生態系、石灰岩質の山々、国立公園、自然保護区や果樹園などがある。そうした地域のほとんどが、景観のみならず、ベトナムの多様な文化をみせてくれる場所である。少数民族は潜在的なエコツーリズム対象地に居住しており、そこは伝統的祝祭、土地利用慣習、食慣行、伝統的生活様式、手工業、史跡の宝庫である。 こうした潜在性にも関わらず、本論では、ベトナムにおけるエコツーリズムの理念性の欠如をいくつかの事例から明らかにする。国家による自然保護区への投資と外国投資家によるホテルやレストランへの投資は順調に進んでいるにも関わらず、環境についての専門的知識をもつツアーガイドやスタッフの育成、つまり人的資源の開発は遅れている。観光はいまだ自由・無規制に行われ環境の悪化を招いている。地域住民やかれらの文化的アイデンティティ、伝統的慣習はエコツーリズムから排除され、経済的な利益も地域には還元されていない。結局、観光マネイジメントや政策は、国家的な戦略の欠如によって政府諸機関の中で分散化されてしまっている。 壊れやすい環境や固有文化の保護、環境アセスメント、運送能力の調査、エコツーリズムの知識をもったスタッフの育成、地域住民の雇用をかんがみながら、地域住民の収入につながる活動と保護活動の双方を視野にいれた関係諸機関の協調がエコツーリズムの発展につながるのである。 Phan Nguyen Hong, Quan Thi Quynh Dao, Le Kim Thoa Phan Nguyen Hong, Quan Thi Quynh Dao and Le Kim Thoa work at the Mangrove Ecosystem Research Division, Centre for […]

Issue 2: Disaster and Rehabilitation

การท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ในเวียดนาม: ศักยภาพและความเป็นจริง

         เวียดนามเป็นหนึ่งในสิบหกประเทศทั่วโลกที่มีความหลากหลายทางชีวภาพสูงสุด  โดยมีพันธุ์ไม้ 13,000 ชนิด และพันธุ์สัตว์กว่า 15,000 ชนิด ซึ่งในจำนวนนี้รวมถึงที่เพิ่งค้นพบใหม่สามสายพันธุ์ โดยเมื่อเทียบอัตราส่วนต่อโลกแล้วคิดเป็นร้อยละ 6.3   ระบบนิเวศน์ที่หลากหลายและการเปลี่ยนแปลงไปสู่ระบบเศรษฐกิจแบบเปิด ทำให้ประเทศเวียดนามมีความเหมาะสมอย่างยิ่งที่จะพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์   อันที่จริง รัฐบาลเวียดนามได้มีการกำหนดให้การท่องเที่ยวเป็นอุตสาหกรรมหัวหอก   และในช่วงทศวรรษที่ผ่านมาจำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่มาเยือนเวียดนามได้เพิ่มขึ้นเจ็ดเท่าตัว  โดยร้อยละ 30 ของนักท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์เป็นชาวต่างชาติ ส่วนอีกเกือบร้อยละ 50 เป็นนักท่องเที่ยวในประเทศ    การท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์แตกต่างจากการท่องเที่ยวพักผ่อนหย่อนใจทั่วไปในเรื่องของผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม  ความต้องการโครงสร้างพื้นฐานที่ต่ำกว่า  ตลอดจนบทบาทในการให้ความรู้ด้านธรรมชาติแวดล้อมและคุณค่าทางวัฒนธรรม พื้นที่เป้าหมายของการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ได้แก่ระบบนิเวศน์แถบชายฝั่ง  (หญ้าทะเล  ปะการัง ทะเลกึ่งปิดหรือลากูน หาดทราย และป่าชายเลน)  ภูเขาหินปูน  อุทยานแห่งชาติ และเขตอนุรักษ์ต่าง ๆ  ไปจนถึงสวนผลไม้   สถานที่ที่กล่าวมาทั้งหมดนี้นอกจากจะมีภูมิทัศน์น่าสนใจแล้วยังเป็นแหล่งเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมอันมั่งคั่งของเวียดนามอีกด้วย  ทั้งนี้เนื่องจากชนกลุ่มน้อยซึ่งอาศัยอยู่ตามแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ส่วนใหญ่นี้ มีความเข้าใจอย่างลึกซึ้งเกี่ยวกับเทศกาลประเพณี  ธรรมเนียมการใช้พื้นที่ วัฒนธรรมด้านอาหาร วิถีการดำรงชีวิตแบบดั้งเดิม และหัตถกรรม ตลอดจนสถานที่สำคัญทางประวัติศาสตร์ต่างๆ แม้ว่าเวียดนามจะมีศักยภาพอย่างยิ่งดังที่กล่าวมา บทความนี้ระบุว่ายังมีพื้นที่หลายแห่งในเวียดนามซึ่งมีสิ่งที่เรียกว่าการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์ดำเนินไปอย่างไม่เป็นไปตามที่มุ่งหวังไว้    ประการแรกคือแม้จะมีการลงทุนในเขตอนุรักษ์จากภาครัฐและการโรงแรมและภัตตาคารจากนายทุนต่างชาติ  แต่ไม่มีการลงทุนในด้านทรัพยากรมนุษย์ซึ่งจำเป็นต้องมีเพื่อพัฒนามัคคุเทศน์และพนักงานอื่น ๆ  โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการอบรมความรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม    นอกจากนี้การท่องเที่ยวส่วนใหญ่ยังคงขาดการวางแผนและควบคุม เป็นผลให้สภาวะแวดล้อมเสื่อมโทรม   ส่วนชาวบ้านที่คงเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมและขนบประเพณีต่าง ๆ ของตนเอาไว้  นอกจากจะไม่มีส่วนร่วมเท่าไรนักต่อการท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์แล้ว  ยังไม่ได้รับผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจอีกด้วย   ประการสุดท้ายได้แก่การจัดการและนโยบายด้านการท่องเที่ยวที่ขาดการประสานงานกันระหว่างหน่วยงานรัฐระดับต่าง ๆ […]

Issue 2: Disaster and Rehabilitation

Ekoturismo sa Biyetnam: Potensyal at Katotohanan

         Sa pagkakaroon nito ng 13,000 species ng flora at mahigit 15,000 species ng fauna, tatlong bagong-tuklas na malalaking species ng hayop, at country/world species ratio na 6.3%, ang Biyetnam ay isa sa labing-anim na bansa na mayroong pinakamataas […]

Issue 2: Disaster and Rehabilitation

On the Politics of Nature Conservation in Thailand

         Conflict in late twentieth century Thailand among state agencies, local people, urban conservationists, and community-rights NGOs over the issue of protected areas and people is strikingly complex and multi-faceted. The conflict has culminated in […]

Issue 2: Disaster and Rehabilitation

On the Politics of Nature Conservation in Thailand (Abstract)

         This paper argues that “nature conservation” in Thailand is the product of state intervention in natural landscapes and the view that forests are crucial to the country’s modernization. The adoption of North American wilderness […]

Issue 2: Disaster and Rehabilitation

Politik dalam Konservasi Alam di Thailand

         Tulisan ini berpendapat bahwa “konservasi alam” di Thailand merupakan hasil intervensi pemerintah di dalam pemandangan alam dan pendapat bahwa hutan penting sekali dalam modernisasi negara. Adaptasi dari pemikiran hutan belantara Amerika Utara oleh negara Thailand modern […]

Issue 2: Disaster and Rehabilitation

タイにおける自然保護の政治学

         本論は「自然保護」というものがタイにおいて自然景観に対する国家介在の産物であること、森林が国家の近代化にとって重要であることについて議論したものである。タイは近代化の渦中で、北アメリカの自然に対する概念を受け入れたが、結果として「自然保護」と「経済発展」という背反する概念が存在することになった。人間介在のない自然という意味での「保護区」は、「発展」パラダイムの中で資本化が可能な天然資源として組み込まれてゆくようになる。 ビルマから19世紀の英国植民地式の木材伐採が導入され、神秘的で無秩序な領域であり、都市(ムアン)という文明化された領域から隔離されたものとしてあった前近代の森林(パー)に対する認識の組み換えが生じた。すなわち、森林は林業地となり、「自然」は商品価値をもつ「天然資源」へと変わったのである。外国人技師によって導入された森林科学は、無秩序な森林を合理的に整理・配置された木々へと変えた。こうして、タイ国家、特に王立森林局は新しい管理テクノロジー(国家管理によるチーク伐採や空間管理)や鉄道路線の発達を通した中央集権化を推し進めた。 植民地木材伐採がタイの自然を資本として見る視点を形作ったように、植民地後の国際的な諸機関は、先進国から途上国へ発展モデルや国立公園モデルを移転させようとした。民間産業や観光客の求める国立公園は、近代的市民国家・タイのシンボルともなった。行政官や森林専門家、環境保護グループは、国立公園や自然保護区を設立してこれらを保護しようとしてきた。しかしそれは都市に住み、教育を受けた中産階級の人々が求めた美しさや教育、娯楽といったニーズを満たすためであった。 自然を正当に評価するのに必要な公教育は、地方住民や高地部族を国立公園の管理によって排除したり、地域住民の生活と森林の関係を侵害するのに用いられた。「手つかずの自然」という関心の中で、地域住民は保護区から締め出され、共同体としての権利を失った人々は周辺の森林に追い立てられた。こうした地域では、住民が自然林に対する「脅威」であると述べられがちであるが、実は国家と民間産業が自らの関心に従って自由に利用したため生じたのであり、国家自体がその破壊者であったのだ。 Pinkaew Laungaramsri Read the full unabridged article (in English) HERE Kyoto Review of Southeast Asia. Issue 2 (October 2002). Disaster and Rehabilitation

Issue 2: Disaster and Rehabilitation

ว่าด้วยการเมืองเรื่องการอนุรักษ์ธรรมชาติในประเทศไทย

         บทความนี้เสนอแนวคิดที่ว่า “การอนุรักษ์ธรรมชาติ” ในประเทศไทยเป็นผลมาจากการแทรกแซงของรัฐในเขตพื้นที่ตามธรรมชาติและแนวคิดที่ว่าป่าไม้เป็นสิ่งสำคัญต่อการพัฒนาประเทศให้ทันสมัยและก้าวหน้า การนำความคิดเกี่ยวกับป่าตามแบบทวีปอเมริกาเหนือมาใช้ในการพัฒนารัฐของไทยให้ทันสมัยและก้าวหน้าทำให้เกิดความคิดที่ขัดแย้งกันระหว่าง “การอนุรักษ์ธรรมชาติ” และ “การพัฒนาเศรษฐกิจ” ถึงแม้ว่าจะมุ่งให้เป็นเขตป่าที่ปราศจากการแทรกแซงของมนุษย์ “เขตป่าสงวน” ก็ยังเป็นส่วนหนึ่งที่สำคัญในการระดมทุนจากทรัพยากรธรรมชาติในแผนการ “พัฒนา” ความสนใจในการทำป่าไม้ของประเทศอังกฤษในยุคล่าอาณานิคมเมื่อศตวรรษที่ 19 ซึ่งเข้ามาทางประเทศพม่าเริ่มเข้าแทนที่แนวคิดก่อนยุคสมัยใหม่ของคำว่า “ป่า” ที่ว่าเป็นเขตลึกลับ ไร้ระเบียบ ซึ่งอยู่รอบนอกและแตกต่างจากเขต ”เมือง” อันศิวิไลซ์  แนวคิดนี้ถูกแทนที่ด้วยคำว่า “ป่าไม้” “ธรรมชาติ” ถูกแทนที่ด้วย “ทรัพยากรธรรมชาติ” ซึ่งเน้นการใช้ประโยชน์เชิงการค้า วนศาสตร์ซึ่งริเริ่มโดยผู้เชี่ยวชาญชาวต่างประเทศได้เปลี่ยนป่าซึ่งยุ่งเหยิง ไร้ระเบียบมาเป็นการจัดระบบต้นไม้อย่างมีระเบียบและหลักการ สิ่งนี้ทำให้รัฐของไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งกรมป่าไม้ สามารถพัฒนาวิธีใหม่ ๆ ในการควบคุม อาทิ การทำป่าไม้สักภายใต้การดูแลของรัฐ […]

Issue 2: Disaster and Rehabilitation

混迷するタイでの住民参加型森林管理

         森林は地域社会が生活の糧として長く管理・利用してきた。しかし、中央政府が人々から森林管理を引き取ったことで、地域社会は住民参加の欠如によって苦難をしいられ、森林管理も成功することはなかった。本論では、森林管理への住民参加をめぐる混迷について分析する。 国家政策によって、長く木材コンセッション制と換金可能作物の大規模モノカルチャーが奨励されてきた。上から下への森林管理は国中で深刻な経済・環境荒廃を促した。1990年代まで、東北地域は過剰伐採やゴム、コーヒー、果樹プランテーションへの森林の改変を通して最もひどい荒廃にさらされた。これらのプログラムはまた、地方の少数民族の強制移住や他地域からの不法移住を引き起こした。 1997年に住民参加の重要性が認識されたが、森林政策は政府や私企業だけのものであり、住民参加の広がりはわずかでしかなかった。こうした失敗にはいくつかの理由がある。国家機構は森林管理を、影響力のあるビジネスマン向けの政策(厳格なルールとその履行)、および外交だとみなし、地域の現実を省みることなく中央集権的な政策決定を行った。さらに行政官たちは森林に依存する人々に否定的な態度をとってきた。すなわち、地域住民による森林利用が森林破壊の原因で、彼らは森林の運営方法を理解できないと考えた。政府の理解や委託者の信任が増したことでようやく、行政官たちは共同社会活動に参加したり参加型の政策やプログラム、住民への委託を検討し始めた。 森林経営者たちもまた、森林管理に関する枠組みや戦略、住民参加による方法論に対して無知であった。政府役人や地域住民が共に働く参加型学習が奨励されなければならない。最後に、住民が森林運営に参加する誘因が殆どなく、彼らがそれを行っても、適切な利益がないことを指摘しておきたい。実際、上院採択前のコミュニティ林法案ですら、貧しい高地住民を森林の敵だとみなしている。 コミュニティ林業は、森林管理だけではなく広範な変化や地方活性化の手段であり、収入の増加と地方の天然資源管理能力を強化するものである。さらに、意識改革や権利の促進、知識、技術を活用した人的資源の開発に寄与する。そうすることで、中央政府と地域社会との間で意思決定のバランスをはかることができるだろう。 Pearmsak Makarabhirom Read the full unabridged version of the article (in English) HERE Kyoto Review of Southeast Asia. Issue 2 (October 2002). Disaster and Rehabilitation

Issue 2: Disaster and Rehabilitation

ข้อจำกัดในการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในการจัดการป่าไม้ในประเทศไทย

         ชุมชนในท้องถิ่นได้ทำการจัดการและใช้ป่าไม้ในการดำรงชีพของตนมาเป็นเวลานาน อย่างไรก็ตามนับตั้งแต่รัฐบาลกลางเข้าควบคุมการจัดการป่าไม้แทนชุมชนเป็นต้นมา ได้สร้างความเดือดร้อนให้แก่ชุมชนในท้องถิ่น  และการจัดการป่าไม้ก็ประสบความล้มเหลวเนื่องจากขาดการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน บทความนี้วิเคราะห์ข้อจำกัดต่าง ๆ ในการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนในการจัดการป่าไม้ นโยบายรัฐระยะยาว (1886-1986) สนับสนุนให้มีการให้สัมปทานการทำป่าไม้และการปลูกพืชเศรษฐกิจชนิดเดียวในไร่ขนาดใหญ่เพื่อการส่งออก การจัดการป่าไม้ในลักษณะจากบนลงล่างนี้นำไปสู่ความเสียหายอย่างใหญ่หลวงทั้งทางเศรษฐกิจและระบบนิเวศน์ทั่วประเทศ กว่าจะถึงช่วงทศวรรษ 1990 ภาคเหนือก็ได้รับความเสียหายร้ายแรงที่สุดเนื่องจากการทำป่าไม้มากเกินขนาด และการเปลี่ยนพื้นที่ป่าไม้ให้เป็นไร่ยางพารา กาแฟ และผลไม้ขนาดใหญ่ โครงการเหล่านี้ยังทำให้ชนกลุ่มน้อยในท้องที่จำต้องย้ายถิ่นฐานและกลายเป็นผู้อยู่อาศัยที่ “ผิดกฎหมาย” ในพื้นที่อื่น ๆ ถึงแม้ว่ารัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 1997 ให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน แต่ในเชิงปฏิบัติแล้ว เฉพาะหน่วยงานในภาครัฐและเอกชนเท่านั้นที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ไม่มีการดำเนินการอย่างจริงจังในการขยายการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน ความล้มเหลวนี้มีสาเหตุหลายประการ หน่วยงานในภาครัฐมองว่าการจัดการป่าไม้ในแง่การตรวจตรา นิยมใช้นิติศาสตร์ (กฏและระเบียบที่เคร่งครัด) มากกว่ารัฐศาสตร์ (กุศโลบายอย่างนักการฑูต) ให้สิทธิพิเศษแก่นักธุรกิจผู้มีอิทธิพล […]