Issue 32 Mar. 2022

Mending Cambodia-US relations: A Cambodian Perspective

Cambodia and the United States celebrated the 70th anniversary of their diplomatic relations in 2020. The celebration took place amid growing distrust and suspicion between the two countries. Over the years, the Cambodia-US relations have […]

Issue 32 Mar. 2022

Memulihkan Hubungan Kamboja-AS: Perspektif Kamboja

Kamboja dan Amerika Serikat merayakan hari jadi ke-70 hubungan diplomatik mereka pada 2020. Perayaan itu berlangsung di tengah meningkatnya ketidakpercayaan dan kecurigaan antara kedua negara. Selama bertahun-tahun, hubungan Kamboja-AS naik-turun lantaran berbagai masalah, termasuk kepentingan […]

Issue 32 Mar. 2022

ซ่อมสร้างความสัมพันธ์กัมพูชา-สหรัฐฯ : มุมมองจากฝั่งกัมพูชา

กัมพูชากับสหรัฐอเมริกาฉลองความสัมพันธ์ทางการทูตครบรอบ 70 ปีในปี 2020 ที่ผ่านมา  การฉลองวาระครบรอบนี้เกิดขึ้นท่ามกลางความไม่ไว้วางใจและความคลางแคลงที่พอกพูนขึ้นระหว่างสองประเทศ  ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา  ความสัมพันธ์กัมพูชา-สหรัฐฯ ค่อนข้างผันผวนขึ้นๆ ลงๆ สืบเนื่องจากปัจจัยหลายประการด้วยกัน อันประกอบด้วยผลประโยชน์ด้วยภูมิศาสตร์การเมืองและยุทธศาสตร์ สิทธิมนุษยชน ประชาธิปไตย และในระยะหลังก็คือปัจจัยจีน (China Factor) อย่างไรก็ตาม ในช่วงไม่กี่ปีมานี้ สายสัมพันธ์ทวิภาคียิ่งเสื่อมถอยลงเพราะการกล่าวหา การเผชิญหน้าและความไม่ไว้วางใจ  ในปี 2017  กัมพูชากล่าวหาสหรัฐฯ ว่าสมรู้ร่วมคิดกับพรรคสงเคราะห์ชาติ (Cambodia National Rescue Party–CNRP) ต่อต้านรัฐบาลกัมพูชา  พรรคสงเคราะห์ชาติคือพรรคฝ่ายค้านพรรคใหญ่ของกัมพูชา ซึ่งตอนนี้ถูกยุบพรรคไปแล้ว  ในปี 2019 สหรัฐอเมริกากล่าวหากัมพูชาว่าลงนามในสัญญาลับกับจีน […]

Issue 32 Mar. 2022

カンボジア・米国関係の修復:カンボジアの視点

2020年に、カンボジアと米国は国交70周年記念を迎えたが、その祝典は両国間に不信や疑念が募る中で行われた。長年にわたり、カンボジアと米国の関係は様々な問題によって揺り動かされてきた。例えば、地政学的・戦略的利益や人権、民主主義、さらに最近では中国ファクター(China factor/中国の影響力)などの問題がある。 だが、近年の両国関係は、とりわけ非難や対立、不信に満ちている。まず、2017年にカンボジアが、米国がカンボジア救国党(the Cambodia National Rescue Party: CNRP)と癒着してカンボジア政府に対抗したと非難した。ちなみに、CNRPはカンボジア最大の野党だが、現在は解党されている。また2019年には米国が、カンボジアが中国と密約を結んだと非難した。この密約により、カンボジアのプレア・シアヌーク(Preah Sihanouk)州のリアム海軍基地(Ream Naval Base)の中国軍による使用が可能になったという。だが、両国は互いの非難を認めず、和解の実現を目指してはいるが、両国の関係は悪循環に陥った様子だ。 この記事では、近年のカンボジア・米国間の緊張関係を分析し、中国の台頭と米中対立の激化の中、両国関係を改善するために何をするべきなのかを提言したい。 カンボジアと米国の緊迫した関係 2017年以降、カンボジアと米国の関係は、これまでにない最悪の状況に至った。まず、2017年1月に、カンボジアは「アンコール・センチネル(Angkor Sentinel)」と呼ばれる米国との共同軍事演習を中止した。これについて、カンボジアは、地方・国政選挙に専念するためとの理由を挙げた。その後、2017年の2月には、プノンペンに駐在していた当時のウィリアム・ハイト(William Heidt)米国大使が、カンボジアは5億ドルの戦債を返済するべきだと発言した。この新たな要求は、戦債を「汚いもの」、「血に染まったもの」と考える政治指導者を中心に、カンボジア人の間で激しい抗議を引き起こした。 2017年の末に、裁判所命令によりCNRPが解党されると、これは独立メディアや市民社会、野党に対するカンボジア政府の弾圧の一環であるとの認識が広まった。また、この弾圧により、2018年選挙では、与党カンボジア人民党(Cambodian People’s Party)の対抗勢力が無くなり、同党は国会全125議席を獲得した。この2018年選挙とその後の弾圧は、カンボジア民主主義の後退と人権状況の悪化を示す兆となった。これを受け、米国は汚職を理由に、フン・セン首相と緊密な関係にある数名のカンボジア政府高官や大物実業家に制裁を課し、ビザ発給制限や資産凍結を行った。アメリカ財務省がグローバル・マグニツキー法(the Global Magnitsky Act)の下で制裁を課した人物には、フン・センの親衛隊長、ヒン・ブン・ヒエン(Hing Bun Hieng)や、カンボジア王国軍のクン・キム(Kun Kim)元統合参謀長がいる。また、米国は、中国企業、ユニオン・デベロップメント・グループ(UDG/優聯集団)による、現地カンボジア人の土地の強制収用および破壊行為に対しても制裁を課した。ちなみに、UDGが進める38億ドル規模のダラサコール(Dara Sakor)プロジェクトでは、ボーイング747や軍用機の着陸に十分な距離の滑走路を備えた国際空港も建設されている。 また、2020年12月には、アメリカの一般特恵関税制度(Generalised System of Preferences: GSP)に対するカンボジアの適用期限が到来したが、この期限の更新は保留されたままになっている。これに対し、近年のカンボジアでの民主主義や人権状況の悪化のため、カンボジアがGSPから除外される可能性を警告する者もいた。これと関連して、米国下院は、カンボジア民主主義法(Cambodia Democracy Act)を2019年と、2021年9月にも再び可決した。もし、同法案が法制化されると、カンボジア政府高官は、同国の民主主義を損ねた責任で、さらなる制裁を課される事になる。 また、2021年6月に米国は、カンボジアのプレイロング野生生物保護区(Prey Lang […]

Issue 32 Mar. 2022

ကမ္ဘောဒီးယား – အမေရိကန် ဆက်ဆံရေးကို ပြင်ဆင်ခြင်း – ကမ္ဘောဒီးယားရှုထောင့်

ကမ္ဘောဒီးယားနှင့် အမေရိကန်ပြည်ထောင်စု သံတမန်ဆက်ဆံရေးသည် ၂၀၂၀ ပြည့်နှစ်တွင် အနှစ် ၇၀ ပြည့်ခဲ့ပါသည်။ နှစ်နိုင်ငံအကြား မယုံကြည်မှုနှင့် သံသယများတိုးပွားလာနေသည့် အခါသမယတွင် ပြည့်ခဲ့ခြင်းလည်း ဖြစ်သည်။ လွန်ခဲ့သည့် နှစ်များအတွင်း နှစ်နိုင်ငံဆက်ဆံရေးမှာ တိုးတက်လိုက်၊ ဆုတ်ယုတ်လိုက် ရှိနေခဲ့သည်။ အကြောင်းမှာလည်း ပထဝီနိုင်ငံရေးနှင့် မဟာဗျူဟာကျ အားပြိုင်မှုများ၊ လူ့အခွင့်အရေး၊ ဒီမိုကရေစီနှင့် သိပ်မကြာသေးမီက တရုတ်နှင့် သက်ဆိုင်သည့် အချက် တို့ကြောင့် ဖြစ်သည်။ သို့သော် ပြီးခဲ့သည့် နှစ်များအတွင်းမှာမူ […]

Issue 32 Mar. 2022

Dinamika Politik dan Ekonomi Kerja Sama BRI Indonesia-Tiongkok

Meninjau kehadiran Indonesia di panggung internasional harus didasarkan pada keputusan kebijakan luar negeri mereka yang konkret. Di antara beberapa sektor kebijakan luar negeri, kepentingan ekonomi ditempatkan di pusat gravitasi. Prioritas utama Jokowi untuk memenuhi kepentingan […]

Issue 32 Mar. 2022

พลวัตทางการเมืองและเศรษฐกิจของความร่วมมือ “ข้อริเริ่มหนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง” ระหว่างอินโดนีเซีย-จีน

การตรวจสอบสถานะของอินโดนีเซียบนเวทีระหว่างประเทศควรพิจารณาจากการตัดสินใจด้านนโยบายต่างประเทศที่เป็นรูปธรรม  ในบรรดาองค์ประกอบหลายประการของนโยบายต่างประเทศนั้น ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจจัดเป็นจุดศูนย์ถ่วงที่สำคัญ  การที่ประธานาธิบดีโจโกวีให้ความสำคัญอันดับต้นแก่การตอบสนองผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจสะท้อนออกมาให้เห็นในลำดับความสำคัญด้านนโยบายต่างประเทศของอินโดนีเซีย นั่นคือ การส่งเสริม “การทูตด้านเศรษฐกิจ” ให้อยู่แถวหน้าสุดในการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในปัจจุบัน  วาระการทูตด้านเศรษฐกิจของอินโดนีเซียสอดคล้องต้องตรงกับเป้าหมายและวิสัยทัศน์ภายในประเทศ  ซึ่งหลักใหญ่ใจความคือการมุ่งสู่เป้าหมายระดับชาติที่จะยกระดับความเติบโตทางเศรษฐกิจและการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน  การตัดสินใจทางการทูตด้านเศรษฐกิจที่โดดเด่นที่สุดเรื่องหนึ่งของโจโกวีคือ ความร่วมมือ “ข้อริเริ่มหนึ่งแถบหนึ่งเส้น” ระหว่างอินโดนีเซีย-จีน (Indonesia-China Belt and Road Initiative  ต่อไปจะเรียกว่า BRI)  บทความนี้จะวิเคราะห์ความร่วมมือ BRI ของอินโดนีเซียและพลวัตทางการเมือง-เศรษฐกิจบางประการที่เกิดขึ้นเกี่ยวเนื่องกับเรื่องนี้ จุดยืนและมุมมองของอินโดนีเซียต่อ BRI ระหว่างที่ประธานาธิบดีสีจิ้นผิงมาเยือนอินโดนีเซียในปี 2013 เขาประกาศว่ารัฐบาลจีนมีความสนใจที่จะพัฒนาความเป็นหุ้นส่วนทางทะเลผ่านกลไก “เส้นทางสายไหมทางทะเลแห่งศตวรรษที่ 21” (21st Maritime Silk Road–MSR) […]

Issue 32 Mar. 2022

インドネシア政治・経済の動向:中国一帯一路構想(BRI)連携

国際社会におけるインドネシアの存在を振り返る際、その根拠とするべきものは、同国の具体的な外交政策上の決定だ。数ある外交政策部門の中で、経済的利益は最も重要視されている。実際、ジョコウィが経済的利益の充実を最優先している事は、インドネシアの外交政策の優先順位にも表れていた。インドネシアは、現在の国際的関与の焦点として「経済外交」を推進しているからだ。また、インドネシアの経済外交上の課題は、内政の目標や構想にも通じる。これは、さらなる経済成長やインフラ開発などを中心とした国家目標の追求である。さて、ジョコウィの経済外交上の最も顕著な決断の一つは、インドネシア・中国間の一帯一路構想(Belt and Road Initiative: BRI)連携だ。そこで、この記事では、インドネシアのBRI連携と、その周辺の政治・経済動向の一部について分析を行う。 BRIに対するインドネシアの姿勢と認識 2013年にインドネシアを訪問した中国の習近平国家主席は、インドネシアとの海上連携の構築に中国政府が関心を持っていると発言した。これは21世紀海上シルクロード機構(the 21st Maritime Silk Road mechanism)を通じた海上連携のことだ。だが、当時のインドネシアは、スシロ・バンバン・ユドヨノ政権下で、同政権の外交政策の優先事項では、海洋政策がほとんど顧みられていなかった。それでも、両国政府は連携を「包括的戦略的パートナーシップ(Comprehensive Strategic Partnership)」レベルに引き上げる事を誓った。 その後、2014年の大統領選挙の結果、ジョコウィ大統領が新たな最高指導者になり、インドネシアの外交政策の優先事項も新大統領の構想に従って変化した。まず、ジョコウィ第1期目の外交政策が重視したのは、インドネシアの海上でのプレゼンスと国力を拡大する構想だ。そこで、同大統領は選挙公約に従い、“poros maritim dunia”、すなわち、「世界海洋軸(Global Maritime Axis)」の概念を掲げ、インドネシアを海洋国家に変えようとした。これについて、中国は、ジョコウィの構想が二国間連携をさらに強化する道を開くかもしれないと理解した。 ちなみに、大統領就任後のジョコウィが初めて訪問した国は中国だと言われている。これは、2014年アジア太平洋経済協力会議(APEC)の首脳会議に参加し、各国首脳に会うための訪中だった。その時、ジョコウィは世界に自身の海洋軸構想を披露すると共に、インドネシアのコミットメントも発表した。この内容は、中国主導のアジアインフラ投資銀行(Asian Infrastructure Investment Bank:AIIB)への加盟と、インドネシアの世界海洋構想を中国の21世紀海上シルクロード(21st Maritime Silk Road:MSR)に統合するというものだ。この訪中をきっかけに、BRIの枠組下での、インドネシアと中国の連携の道が開かれた。その後、二度目の会合は、2015年3月のボアオ・フォーラム(the Boao Forum)で実現した。この時、ジョコウィと習は共同宣言を発表し、両国の海上連携のさらなる強化を推進するという誓約を強調した。 さらに、2014年にミャンマーのネピドーで開催された第9回東アジアサミット(the 9th East Asia Summit:EAS)において、ジョコウィ大統領は自身の「世界海洋軸」構想を改めて強調した。この構想では、間違いなく中国のMSRがジョコウィの壮大な海洋計画を補完していた。確かに、ユスフ・ワナンディ(Jusuf Wanandi)が論じる通り、BRIイニシアティブは明らかに、インドネシアに恩恵をもたらすだろう。だが、ジョコウィがBRIと国内連結性(connectivity)計画との間に相乗効果を生み出せるかどうかが、この恩恵の規模を左右する。最も大きな可能性があるのは、中国BRIの優先事項に対応する2016年から2019年のインドネシア海洋政策行動計画(the Action […]

Issue 32 Mar. 2022

အင်ဒိုနီးရှား-တရုတ် BRI ပူးပေါင်းစီမံကိန်း၏ နိုင်ငံရေးနှင့် စီးပွားရေးဆိုင်ရာ တွန်းတိုက်မှုများ

အင်ဒိုနီးရှားနိုင်ငံ၏ နိုင်ငံတကာဆက်ဆံရေးကို လေ့လာသုံးသပ်ရာတွင် ၄င်းတို့၏ နိုင်ငံခြားရေး မူဝါဒ လက်တွေ့ ဆုံးဖြတ်ချက်များကို ကြည့်နိုင်ပါသည်။ နိုင်ငံခြားရေးမူဝါဒနယ်ပယ် အများအပြားတွင် စီးပွားရေး အကျိုးအမြတ်က အရေးကြီးသည့် ကဏ္ဍတွင် ရှိနေပါသည်။ သမ္မတ ဂျိုကိုဝီ၏ စီးပွားရေးကို အလေးပေးမှု မူဝါဒက အင်ဒိုနီးရှားနိုင်ငံ၏ နိုင်ငံခြားရေး မူဝါဒ ဦးစားပေးမှုများတွင်လည်း ထင်ဟပ် နေပြီး ယင်းကို လက်ရှိနိုင်ငံတကာဆက်ဆံရေးတွင် “စီးပွားရေးဆိုင်ရာ သံတမန်ရေး” ကို ရှေ့တန်းတင် ခြင်းတွင် တွေ့နိုင်ပါသည်။ […]

Issue 32 Mar. 2022

เมื่อความเปลี่ยนแปลงปะทะความต่อเนื่อง: นโยบายต่างประเทศของมาเลเซียในช่วงสี่ปีที่ผ่านมา

ในช่วงเวลา 4 ปีระหว่างการเลือกตั้งทั่วไปครั้งที่ 14 ของมาเลเซียในเดือนพฤษภาคม 2018 และธันวาคม 2021 ปูตราจายาได้เห็นการเปลี่ยนตัวนายกรัฐมนตรีถึงสามคนและการล่มสลายของพรรคแนวร่วมรัฐบาลถึงสองครั้ง  ผลลัพธ์ที่ตามมาก็คือ ตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศมีการผลัดเปลี่ยนถึงสามครั้งระหว่างผู้ได้รับการแต่งตั้งสองคน และตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมของประเทศก็เปลี่ยนหน้ารัฐมนตรีถึงสามคนตามลำดับ  ทั้งหมดนี้เกิดขึ้นท่ามกลางฉากหลังที่วิกฤตการณ์ด้านสุขภาพและเศรษฐกิจจากโรคโควิด-19 กำลังเริ่มต้นซ้ำเติมภูมิทัศน์ทางการเมืองภายในประเทศ ในช่วงกรอบเวลานี้เช่นกัน มาเลเซียได้เผยแพร่สมุดปกขาวด้านการป้องกันประเทศ (Defence White Paper—DWP) ออกมาเป็นครั้งแรก พร้อมกับกรอบนโยบายต่างประเทศสองฉบับที่บรรยายถึงลำดับความสำคัญและสถานะตำแหน่งของประเทศในการดำเนินความสัมพันธ์กับต่างประเทศ  บทความนี้ต้องการชี้ให้เห็นว่า ถึงแม้ความปั่นป่วนทางการเมืองครั้งใหญ่ภายในประเทศเกิดขึ้น และมีการเดินหมากพลั้งพลาดเป็นครั้งคราวในการผูกสัมพันธ์กับภายนอกตลอดช่วงสี่ปีที่ผ่านมา แต่พื้นฐานแนวคิดด้านนโยบายต่างประเทศโดยรวมของมาเลเซียยังมีสาระคงเดิมที่ไม่เปลี่ยนแปลง  การดำเนินความสัมพันธ์กับต่างประเทศตามบุคลิกภาพของรัฐมนตรีแต่ละคนอาจก่อให้เกิดบรรยากาศของความไม่สม่ำเสมอด้านนโยบายบ้าง แต่หลักเกณฑ์ด้านการทูตของมาเลเซียยังคงเส้นคงวาอยู่  อย่างไรก็ตาม เมื่อคำนึงถึงอนาคตข้างหน้า พื้นที่ที่เป็นจุดสนใจใหม่และยังทรงพลังอยู่ อาทิ การทูตด้านสุขภาพ ความปลอดภัยบนโลกไซเบอร์ และการทูตด้านวัฒนธรรม จะขึ้นอยู่กับเสถียรภาพภายในประเทศ […]

Issue 32 Mar. 2022

変化と継続が衝突する時代:過去4年間のマレーシア外交政策

2018年5月のマレーシア第14回総選挙から2021年12月までの間に、マレーシア政府は3人の首相の交代と、2つの与党連合の崩壊を経験した。その結果、外務大臣は2度の任用期間中に3回入れ替わり、マレーシア国防相も、3人の大臣が代わる代わる率いる事となった。さらに、この背後ではCOVID-19による健康・経済の危機が生じ、国内情勢を悪化させた。 これと同じ頃、マレーシアは、初の国防白書と二つの外交政策の枠組を発表し、同国が外交を実施する際の国家の優先事項と姿勢を明確に示した。この論文で論じるのは、国内の政治情勢が激変し、過去4年間のマレーシアの外交関係で時折、失敗があったとしても、この国の外交政策の構造の大筋は実質的に変わっていないという事だ。確かに、人間性を全面にだした(personality-driven)外交の実施は、政策の一貫性のなさを助長したかもしれないが、マレーシア外交の基本的な指針は一貫している。だが、今後、保健外交やサイバー・セキュリティー、文化外交など、新たな重点分野を維持する力は、マレーシア国内の安定や、リーダーシップ、資源の優先順位付けなどによって大きく左右されるだろう。 一歩前進:指針と政策 マレーシアでは、2018年までの60年近く、国民戦線(the Barisan Nasional/バリサン・ナショナル)政府が連綿と国政の実権を握ってきた。そのようなマレーシアにとり、今回の政治的混乱は前代未聞の出来事だった。まず、党の裏工作の波紋は、2018年に選挙で選ばれた連立与党、希望連盟(Pakatan Harapan/パカタン・ハラパン)を政権の座から追放し、その後、相次いで党の内部分裂を引き起こした。しかも、この影響は今もなお、水面下で渦巻いている。 ここで、連邦政府と野党連合の間に結ばれた改革と政治的安定に関する覚書(MOC on transformation and political stability)は、党派間の平和を維持するための唯一の手段だ。これによって、2023年7月の第14回議会の解散に伴う次期総選挙までは平和が保たれるだろう。ところが、この停戦協定にもかかわらず、第15回総選挙の呼び水と見られる国政選挙が2021年の末に控えているため、マレーシアの国内情勢は今なお濃厚な政治色に包まれており、マレーシアの政策の存続について不透明感が広がっている。 「新しいマレーシア(Malaysia Baharu)」を公約に掲げた希望連盟政権が選挙に当選してから1年余り経った2019年9月、マレーシア外務省は「新しいマレーシアの外交政策枠組み(Foreign Policy Framework of the New Malaysia)」(2019年枠組み)を発表した。これには、「継続性の中の変化」という題が付いていた。その三か月後、国防省はマレーシア初の包括的な国防白書(DWP)を国会に提出し、承認を求めた。これらの文書には、マレーシアの外交・防衛態勢の概要がまとめられ、その中で、包摂的な国際主義、非同盟、不干渉、紛争の平和的解決、法の支配など従来の原則が確認されている。また、いずれの文書にも、東南アジア諸国連合(ASEAN)が、マレーシアの外交政策の要である事に変わりはないことが明記されている。 これらの文書は、明らかに時代の産物であり、マレーシアの変わりゆく戦略環境の実態に、より良く対処するという目的の下に作成されたものであった。そのため、この2019年枠組みと国防白書には、政権交代によって方向転換するかに見えた、当時の国家の楽観主義が反映されている。また、両文書は、民間のステークホルダーを交えた協議プロセスの成果でもあった。まず、2019年枠組みでは、国際社会におけるマレーシアの積極性と卓越性が約束されている。また、同枠組みは、人権・主権の擁護を論じ、移民やサイバー・セキュリティー、テロなどの非伝統的な安全保障上の課題に対する認識も示していた。一方、国防白書には、「大陸的ルーツを持つ海洋国家(maritime nation with continental roots)」、マレーシアの地位をより効果的に守るための、一元化されて機動的で集中的な未来の軍隊の計画概要が記されていた。さらに、この白書は、防衛にまつわる科学・技術、産業に対する国内での新たな取り組みも提示した。このように、国防白書は、「マレーシアの地政学面を強化する新たな要素」として構想された。 二歩後退:継続性の中の矛盾 2020年2月には、希望連盟政権が瓦解し、ムヒディン・ヤシン(Muhyiddin Yassin)率いる国民連盟(ペリカタン・ナショナル/the Perikatan Nasional)の与党連合が政権に就いた。そして同じ頃、COVID-19が全世界を一変させた。これによって、2019年枠組みと国防白書は、事実上、効力を失う事となった。マレーシアの外交政策の実践が時折、協調性や一貫性を欠くように見えたとしても、これらの文書の根底を成す原理に変わりはない。だが、マレーシアの南シナ海での領有権の主張に対する中国の挑発や、豪英米3カ国(AUKUS)協定の発表への対応では、この矛盾性がひと際目立って見えた。 2020年の前半に、パンデミックの第一波と戦っていたマレーシアは、同時に中国からの威嚇にも対応しなければならなかった。当時、南シナ海では、自国が業務を委託した石油掘削船、ウエストカペラ号(West Capella)に対し、中国の調査船、海洋地質8号(Haiyang Dizhi 8)が脅し行為を行っていた。これに対し、アメリカとオーストラリアは同海域に戦艦を派遣し、そのプレゼンスと力を示した。おそらく、この行為には、東南アジア地域のパートナー諸国に対する助力の意思表示を行う目的もあっただろう。だが、当時のマレーシアのヒシャムディン・フセイン(Hishammuddin […]

Issue 32 Mar. 2022

ပြောင်းလဲမှုနှင့် မပြောင်းလဲမှုတို့ ပွတ်တိုက်သည့်အခါ – မလေးရှားနိုင်ငံခြားရေး မူဝါဒ လေးနှစ်တာ

မလေးရှား၏ ၂၀၁၈ ခုနှစ်မေလ ၁၄ ကြိမ်မြောက် အထွေထွေရွေးကောက်ပွဲနှင့် ဒီဇင်ဘာ ၂၀၂၁ အကြားတွင် ပူတြာဂျာယမြို့တော်သည် ဝန်ကြီးချုပ် သုံးဦးအပြောင်းအလဲနှင့် ညွန့်ပေါင်းအစိုးရ နှစ်ဖွဲ့တို့ ပြုတ်ကျခြင်းများ တွေ့မြင်ခဲ့ရပါသည်။ သို့ဖြစ်ရာ နိုင်ငံခြားရေးဝန်ကြီး ခန့်အပ်မှုနှစ်ကြိမ်နှင့်အတူ ဝန်ကြီး သုံးခါအပြောင်းအလဲ ဖြစ်ခဲ့ပြီး၊ ကာကွယ်ရေးဝန်ကြီးလည်း သုံးခါ အပြောင်းအလဲ ဖြစ်ခဲ့ပါသည်။ နောက်ခံ အခင်းအကျင်းအနေဖြင့်လည်း ကိုဗစ်-၁၉ ကပ်ရောဂါ ဖြစ်ပွားလာခြင်းနှင့်အတူ စီးပွားရေး အကျပ်အတည်းကလည်း ပြည်တွင်းရေးကို ရိုက်ခတ်မှုရှိခဲ့ပါသည်။ […]

Issue 32 Mar. 2022

นโยบายต่างประเทศของฟิลิปปินส์หลังยุคดูเตอร์เต: ข้อคำนึงสำคัญสำหรับประธานาธิบดีคนต่อไป

เมื่อตำแหน่งประธานาธิบดีของโรดริโก ดูเตอร์เตหมดวาระลง ฟิลิปปินส์จะต้องเผชิญความไม่แน่นอนว่า ผู้นำประเทศคนต่อไปจะดำเนินนโยบายต่างประเทศแบบไหน  ส่วนใหญ่แล้วเมื่อมีรัฐบาลใหม่ ก็มักมีการปรับเปลี่ยนนโยบายต่างประเทศและพฤติกรรมต่อภายนอกมากบ้างน้อยบ้าง ทั้งนี้เพราะประธานาธิบดีแต่ละคนนำเอาอคติของตนติดตัวเข้ามาสู่ทำเนียบด้วย  การปรับเปลี่ยนเหล่านี้ขึ้นอยู่กับตัวประธานาธิบดีมีมุมมองและจะส่งเสริมผลประโยชน์ของชาติอย่างไร ซึ่งจะกลายเป็นพื้นฐานของนโยบายต่างประเทศและหลักปฏิบัติในกิจการระหว่างประเทศ  กระนั้นก็ตาม ในการสานต่อผลประโยชน์ของชาติ หัวหน้าคณะรัฐบาลคนต่อไปจะต้องเผชิญกับความท้าทายด้านภูมิศาสตร์การเมืองและรับมือกับนโยบายเจ้าปัญหาของดูเตอร์เตด้วย ซึ่งสร้างผลพวงตามมาอย่างสำคัญต่ออนาคตของนโยบายต่างประเทศของฟิลิปปินส์ ตำแหน่งประธานาธิบดีฟิลิปปินส์กับนโยบายต่างประเทศ ประธานาธิบดีฟิลิปปินส์มักได้รับการอ้างถึงว่าเป็นสถาปนิกใหญ่ของนโยบายต่างประเทศ  ด้วยอำนาจตามรัฐธรรมนูญ ประธานาธิบดีจึงมีอิสระทางการเมืองมากพอสมควรในการกระทำการและตัดสินใจใดๆ เพื่อรักษาผลประโยชน์ของชาติในส่วนที่สัมพันธ์กับประเทศอื่นและองค์กรระหว่างประเทศ  ประธานาธิบดีสามารถประเมินทบทวนลำดับความสำคัญใหม่ “กำหนดน้ำเสียงและท่าทีในชุมชนระหว่างประเทศ และแม้กระทั่งบริหารจัดการด้านการทูตด้วยตัวเองกับบางประเทศตามที่ตนปรารถนา โดยอยู่ภายใต้ข้อจำกัดเชิงโครงสร้างบางอย่าง” (Baviera 2015)  ด้วยเหตุนี้ ประธานาธิบดีฟิลิปปินส์จึงสามารถประทับบุคลิกภาพประจำตัวลงบนนโยบายต่างประเทศของชาติได้  อันที่จริง การประเมินกิจการระหว่างประเทศและความสัมพันธ์กับภายนอกประเทศของฟิลิปปินส์มักวางพื้นฐานอยู่บนการประเมินการบริหารงานของประธานาธิบดีคนนั้นๆ อาทิ นโยบายต่างประเทศของอาร์โรโย (2001-2010) หรือนโยบายต่างประเทศของอากีโน (2010-2016) เนื่องจากวัฒนธรรมทางการเมืองของฟิลิปปินส์ที่บุคลิกภาพมีบทบาทกำหนดอย่างมาก นโยบายต่างประเทศจึงมักเน้นย้ำลักษณะเฉพาะตัวของประธานาธิบดีแต่ละคน  […]