Issue 37

จุดจบของธุรกิจเสรี? การควบคุมเศรษฐกิจสัญญาจ้างชั่วคราวในสิงคโปร์และประเทศไทยยุคหลังโควิด-19

เศรษฐกิจสัญญาจ้างชั่วคราว (Gig Economy) เฟื่องฟูไปทั่วโลกนับตั้งแต่เกิดโรคระบาดโควิด-19 โดยเฉพาะในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้  การที่ผู้บริโภคต้องพึ่งพาอาศัยบริการส่งตามสั่ง (on-demand delivery) เพิ่มมากขึ้น และการที่ประชาชนหลายล้านคนหันเหมาทำมาหาเลี้ยงชีพด้วยการทำงานกับธุรกิจแพลตฟอร์มหลังจากมีมาตรการปิดพื้นที่ (ล็อคดาวน์) และสั่งหยุดการทำงานของภาคธุรกิจ ทำให้การทำงานแบบสัญญาจ้างชั่วคราวกลายเป็นหัวใจสำคัญของครัวเรือนและระบบเศรษฐกิจทั่วทั้งภูมิภาคนี้ยิ่งกว่าเดิม จากการที่กลุ่มเทคโนแครตและกลุ่มการเมืองมีความกังวลมากขึ้น รวมทั้งกลุ่มแรงงานก็เคลื่อนไหวเรียกร้องให้มีการปรับปรุงสภาพการทำงานมากขึ้น นักวางนโยบายทั้งในซีกโลกเหนือและซีกโลกใต้ต่างก็ถูกบีบให้ปรับแก้แนววิธีปฏิบัติเดิม ซึ่งส่วนใหญ่ดำเนินตามแนวทาง “ไม่แทรกแซง” หรือธุรกิจเสรี (laissez-faire) อันเป็นแนวทางที่พวกเขาใช้จัดการต่อภาคส่วนเศรษฐกิจนี้ตลอดทศวรรษที่ผ่านมา   ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ก็ดำเนินตามแนวทางนี้เช่นกัน  พร้อมกันนั้นรัฐบาลในภูมิภาคนี้ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นระบอบเผด็จการและระบอบกึ่งทหาร ต่างก็พยายามหาวิธีที่จะรับมือกับสภาวะไม่มั่นคงของไรเดอร์และไดรเวอร์ในเศรษฐกิจภาคส่วนนี้  การพิจารณาเส้นทางและทางเลือกต่างๆ ของแนววิธีปฏิรูปในประเทศไทยและสิงคโปร์ จะช่วยเผยให้เห็นกลไก ขีดจำกัด และความเสี่ยงของนโยบาย  รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงกฎเกณฑ์กำกับดูแลต่างๆ ในระบอบที่ไม่มีความเป็นประชาธิปไตยและระบอบกึ่งเผด็จการทหาร แรงงานที่ถูกกีดกันและขาดไร้การกำกับดูแล ท่าทีของรัฐบาลประเทศต่างๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ต่อความตึงเครียดในเศรษฐกิจสัญญาจ้างชั่วคราวถูกกำหนดจากความสามารถที่มีจำกัดของแรงงานในการรวมตัวจัดตั้งและกดดันผู้มีอำนาจตัดสินใจทางการเมืองและนโยบาย  […]

Issue 37

自由競争主義は終わりか? パンデミック後のシンガポールとタイにおけるギグエコノミー・ガバナンス

新型コロナウィルス感染症の大流行以来、東南アジアをはじめ、世界中でギグエコノミーが急成長した。以来、消費者のオンデマンド・デリバリー依存は高まり、ロックダウンと休業要請の結果、何百万人もの生計がプラットフォーム労働に切り替わった。これにより、東南アジア全域の世帯と経済におけるギグワークの重要性はかつてない程高まった。 また、労働条件の改善を求める労働者運動の増加など、テクノクラート的・政治的な懸念も同時に生じた。これを機に、グローバル・ノースでも、グローバル・サウスでも、政策決定者は、ギグワーク業界に対する過去10年間の極めて「不干渉主義的」、自由競争主義的な態度を改めざるを得なくなった。この状況は、その多くが独裁政権や、ハイブリッド軍事政権である東南アジア諸国でも同じだ。やはり、これらの国も、ギグワーク業界のライダーやドライバーの不安定な雇用状況への対応に頭を悩ませている。そこで、タイとシンガポールの改革アプローチへの道筋と、その多様な手法を検討し、非民主的なハイブリッド体制下の政策・規制改革の仕組みと、その限界やリスクを明らかにする。 蚊帳の外に置かれた労働者と規制の虜 東南アジア各国政府のギグエコノミーの緊張への対応を形作ったのは、政治上、政策上の意思決定に対する労働者の組織力と影響力の不足だ。タイでも、シンガポールでも、世界の多くの場所と同じで、ライダーやドライバーには法的な縛りがある。つまり、彼らが労働組合を結成するには、法律上、「雇用者」と見なされる必要があるのだ。ところが、両国では、今もなお、労働法がギグワーカーを従来の雇用関係に当てはまらないと定義する。そのため、ライダーやドライバーの団結には、非公式の団体やネットワークが頼りとなる。しかも、正式な法体系が欠如している上に、両政府のハイブリッド独裁体制という状況が事態を一層こじらせている。なぜなら、これらの体制によって、ギグワーカーの利害を代表する政党や政治家が、この10年間に、与党連合から確実に排除されてきたからだ。 また、労働者の政策決定への影響力の弱さを受け、両国では、プラットフォーム企業が業界の規制に過度な影響力を持ってきた。こうして、蚊帳の外に置かれた状況に不満を持つ労働者が、業界に対する改革と介入を求め、支配層エリートに圧力をかけようと、行動を起こし始めた。また、多くがオンラインのグループを通じて計画されるこれらの運動は、近年、相互扶助運動から、集団行動に発展してきた。このような集団行動の目的は、企業から譲歩を引き出す事だが、政府の行動を求めるものも増えつつある。このような圧力の結果、タイでも、シンガポールでも、幾分、政策上の進歩が見られた。しかし、これらの介入には、民間のエリートや企業の政治的優位が表れていた。ここに、国家・企業の癒着の力関係が染み付いたハイブリッド体制下での改革の限界が浮き彫りとなる。 労働者の動員を促すタイの競争重視のアプローチ 2014年のクーデター以来、タイを10年間支配したハイブリッド軍事政権は、プラットフォーム資本主義に対し、競争と改革を極めて重視する態度をとった。このため、タイでは、過去10年にわたり、(東南アジア)地域と地元のプラットフォームが大いに活況を呈した。特に、食品配達のアプリは急成長を遂げ、2021年末には、同業界が40億米ドル以上と評価された。これには、新型コロナのパンデミック以降の消費者のデリバリー依存の高まりが反映されている。 この10年間に、世界的な投機的資本に支えられた(東南アジア)地域大手のGrabやGoJekが、タイ市場での事業拡大を試みる一方で、地元のプラットフォームも出現した。この例には、王室系のサイアム商業銀行(Siam Commercial Bank)から一部資金援助を受けたRobinHoodなどがある。 だが、特に、新型コロナのパンデミック以来、タイのギグエコノミーの競争激化を受け、業界の労働者のセーフティーネットは、むしろ、一層不安定になった。 例えば、2020年以前に市場の大半を占めていたGrabは、東南アジアの他の市場でしていたように、タイを拠点とする労働者に傷害保険などの補償を自動的に提供していた。だが、これらのセーフティーネットの提供を法的に義務付ける規定が無いまま、近年、新たなプラットフォームが参入してきた。当然、これらの企業は、タイ人ライダーやドライバーを自社プラットフォームのみで働かせるため、基本的な傷害補償を餌にするようになった。2022年にインタビューを行った元ライダーの活動家は、こうした2019年以降の変化をまとめて、こう説明した。彼は、300件の配達、あるいは、約10件の仕事、つまり、一ヶ月に毎日5時間の仕事を一つのアプリのみでこなすまで、プラットフォームから傷害補償を確保できなかったという。 「いつも、様々なアプリで報酬金をやりくりしながら、一つのアプリで間違いなく、十分な仕事をするようにしていました。これは怪我で働けない場合の損失利益を賄う傷害補償を確保するためです。要するに、無茶なゲームですが、これは遊びではなく、私たちの生活なのです!」 依然、正式な労働組合の結成が法的規制を受け、支配層の保守派エリートと王室が業界に直接投資を行う中で、労働者は政策決定者に話を聞かせようと必死に努力している。例えば、2020年には、軍政に任じられた労働大臣が、パンデミック中に業界の戦略を練ろうと、全てのプラットフォーム大手を招いて会議を開催した。だが、2022年7月にインタビューを行ったギグワーカーの話では、ライダー・ドライバー団体はこれらの会議から排除されていた。そればかりか、労働大臣は、ギグワーカーの政策提言に向けた全ての集団的努力を同省のインフォーマル・セクターに特化した部局に委託した。 このように、労働者の集団協議が存在しないため、タイの政策決定者は、搾取的なアルゴリズムにも、不安定な雇用状況にも、不干渉の態度をとった。彼らは、むしろ、ギグワークを、低迷期に解雇された労働者のための革新的な、市場ベースの代替システムと見る傾向がある。また、より広く、プラットフォーム資本主義が、レストランや、サービス、デリバリーなど、大半が非正規の業界を近代化させると見る傾向もある。こうして、新型コロナ以降、タイの各省庁は、この建設的な混乱に干渉するより、業界内の競争を促進し、傷害保険など、労働者のセーフティーネットをプラットフォーム各社が(自主的に)提供するよう求め、労働者の苦情に対処してきた。 このように、ギグワーカーの規制に対する要求になかなか耳を貸さず、行動を起こそうともしない政府に苛立ち、ギグワーカー団体がオンラインとオフラインに出現し始めた。中には、より広く、民主化運動と連携する組織もある。 また、2023年5月のタイ総選挙の際、革新系の前進党(Move Forward Party)の政権公約には、同党の基盤に対するギグワーカーの巨大な影響力が反映されていた。前進党は最大議席数を獲得したが、少なくとも、現段階では、保守派の軍部・財界エリートと、表面上は改革派のタイ貢献党(Pheu Thai Party)を寄せ集めた「フランケンシュタイン」政府によって野党の立場を強いられている。 このため、前進党のギグワーク政策が、タイの新政府に受け入れられるかどうかは、まだ定かではない。だが、前進党の政治的排除の結果、インフォーマル・セクターや、ギグワーカーの状況に大した改善がなければ、今後数年の内に、タイのハイブリッド独裁政権の解体に対する要求が高まるだろう。 選挙ショックに対するシンガポールのテクノクラート的な反応 同様に、シンガポールの人民行動党(PAP/ People’s Action Party)政権も、プラットフォーム資本主義の誕生から最初の10年間は、それに自由競争主義的な態度を取った。つまり、政策決定者は、労使間の紛争への介入には及び腰で、プラットフォーム・アプリの予約オプションから、従来のタクシーを除外しない事を要求しただけだ。これには、個人ハイヤー業界全体のプラットフォーム化を促進する目的があった。一方、国有企業各社は、プラットフォーム大手、Grabの東南アジア全域での事業展開を2014年創業時の投資によって直接支援した。 この寛容なガバナンスと投資を背景に、特に、Grabや、後のインドネシアのGoJekなど、プラットフォーム・アプリの急速な事業展開が可能となった。 だが、2020年初頭にパンデミックが始まると、「オンデマンド」労働者の曖昧な雇用形態や、企業の提供するセーフティーネットの不備が、不満を抱えたシンガポール人労働者の動員を招く事態が明らかとなった。例えば、シンガポールの、2020年初頭の新型コロナの「サーキットブレーカー」中に、政府と産業界による7,700万シンガポールドルの包括的援助の配布が発表された。この対象とされたのは、GrabやGoJek、FoodPandaなどのプラットフォーム・アプリから収入を得た労働者だ。だが、政府と、計画の不干渉主義的な姿勢を反映し、これらの支援金は、国家機関ではなく、プラットフォーム企業を通じて配布された。そして、Grabの経営者がこの資金ばら撒きに乗じ、既存の報奨制度を段階的に廃止する一方、最も忠実なドライバーだけに報酬を与えようとしたところ、騒動となった。激怒したドライバーが異例の集団行動を起こし、Grabが一部のギグワーカーを排除し、パンデミックの救済金を利己的に運用していると非難した。 これを受け、同社はついに、当初のばら撒き対応を断念した。ところが、その数か月後、2020年7月の国政選挙で、PAPが労働者党(the Workers Party)に複数の議席を奪われる事態となった。この時、労働者党は、出馬に際し、ギグワーカーも対象となる全国一律の最低賃金導入を提唱する政策を掲げていた。 1965年のマレーシアからの独立以来、市場経済を支持するPAPは、常にこの国を統治し続けてきた。これを支えたのが、大部分の有権者に対する、国家の斡旋による住宅供給と、極めて現政権寄りの選挙法や党則だ。 だが、労働者の不満と、2020年の労働者党(WPs)の予想を上回る選挙結果を受け、シンガポールの政府機関は、ギグエコノミーに対する規制対応の策定に取り掛かった。2021年8月、首相によるナショナル・デイ・ラリーの演説(the Prime […]

Issue 37

လေဆဲဖဲလ်စီးပွားရေးစနစ် (Laissez-Faire) ၏အဆုံးသတ်လေလား စင်္ကာပူနှင့် ထိုင်းနိုင်ငံတို့တွင် ကိုဗစ်-၁၉ ကပ်ရောဂါအလွန် အလွတ်တန်း စီးပွားရေး (gig economy)ကို ထိန်းကျောင်း အုပ်ချုပ်ခြင်း

ကိုဗစ်-၁၉ ကပ်ရောဂါဖြစ်ပွားပြီးနောက် ကမ္ဘာတဝှမ်းနှင့် အထူးသဖြင့် အရှေ့တောင်အာရှတွင် အလွတ်တန်း အလုပ်များနှင့် သက်ဆိုင်သော စီးပွားရေး (gig economy) တွင်ကျယ်လာခဲ့သည်။ သုံးစွဲသူများအနေဖြင့် လိုချင်သည့်အချိန် မှာယူလို့ရခြင်းအပေါ် မှီခိုအားထားမှု တိုးပွားလာခြင်းနှင့် လော့ခ်ဒေါင်းချထားပြီး စီးပွားရေးလုပ်ငန်းများ ရပ်နားထားရချိန်တွင် လူသန်းပေါင်းများစွာသည် မိမိတို့၏ အသက်မွေးဝမ်းကျောင်းအတွက် ပလက်ဖောင်းအလုပ်များကို မှီခိုလာရခြင်းတို့ကြောင့် ဒေသတွင်းရှိ အိမ်ထောင်စုများနှင့် စီးပွားရေးလုပ်ငန်းများအနေဖြင့် ယခင်ကထက် အလွတ်တန်း အလုပ်များကို ပိုမိုဗဟိုပြုလာခဲ့ရသည်။ အလုပ်သမားများအနေဖြင့် ပိုမိုကောင်းမွန်သော အခြေအနေများ […]

Issue 36

“กลัวพลาดตกขบวน” กับการมีส่วนร่วมทางการเมืองในโลกออนไลน์: กรณีสิงคโปร์

ปัญหาของการไม่ยุ่งเกี่ยวกับการเมือง  ความเติบโตของแพลตฟอร์มสื่อสังคมออนไลน์หรือโซเชียลมีเดีย เอื้อให้พลเมืองเข้ามายุ่งเกี่ยวกับการเมืองได้ง่ายขึ้นและลดต้นทุนของการมีส่วนร่วมสำหรับประชาชนหลายล้านคน (Ahmed & Madrid-Morales, 2020; Gil de Zúñiga et al., 2012; 2014)  อย่างไรก็ตาม คนจำนวนมากก็ยังไม่สนใจการเมืองและไม่ยุ่งเกี่ยวกับการเข้ามามีส่วนร่วมทางการเมือง (Ahmed & Gil-Lopez, 2022; Zhelnina, 2020)  ความไม่สนใจการเมืองคือการขาดความสนใจต่อความเป็นไปทางการเมือง รวมถึงข้อมูลข่าวสารและกิจกรรมทางการเมือง เช่น การมีส่วนร่วมในกิจกรรมสาธารณะและการลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง  นักรัฐศาสตร์มองว่านี่เป็นปัญหาสังคมอย่างหนึ่ง (Dean, 1965; Rosenberg, 1954)  พลเมืองที่มีความกระตือรือร้นทางการเมืองเป็นปัจจัยที่สำคัญอย่างยิ่งต่อระบบการเมืองที่ทำงานได้ดี  ระบอบประชาธิปไตยจะเติบโตได้ได้แค่ไหนก็ขึ้นอยู่กับพลเมืองเข้ามาพัวพันในการเมืองประจำวันและการเลือกตั้งมากน้อยแค่ไหน  ยิ่งกว่านั้น “การมีส่วนร่วมที่เอียงกะเท่เร่นำไปสู่การปกครองที่เอียงกะเท่เร่” […]

Issue 36

取り残される不安(FOMO)とオンラインの政治的関与: シンガポールの事例

政治離れ問題 ソーシャルメディアの発達により、市民の政治的関与が促進され、何百万人もの市民の政治参加にかかるコストも軽減された(Ahmed & Madrid-Morales, 2020; Gil de Zúñiga et al., 2012; 2014)。それでもなお、多くの市民は政治に無関心なまま、関与に積極的ではない(Ahmed & Gil-Lopez, 2022; Zhelnina, 2020)。政治的無関心とは、政治に興味がなく、公共行事への参加や、選挙での投票など、政治に関する情報や活動に関心のない事で、政治学者はこれを社会問題と考える(Dean, 1965; Rosenberg, 1954)。そもそも、政治制度が正常に機能するには、政治に対して積極的な市民の存在が不可欠で、市民が日常の政治や選挙にどれだけ関与するかが、民主主義発展の決め手となる。そして、「関与が偏れば、政府の行為も偏る」(Griffin & Newman, 2005; p. 1206)。だが、近年の多くの研究では、数々の民主主義国家での政治的無関心の風潮が報告されている(Manning & Holmes, 2013; Henn et al., 2007; Pontes et al., […]

Issue 36

မပါဝင်လိုက်ရမည်ကို စိုးရွံ့ခြင်းနှင့် အွန်လိုင်းတွင် နိုင်ငံရေးအရ ပါဝင်မှု – စင်္ကာပူကို လေ့လာခြင်း

နိုင်ငံရေးတွင် မပါဝင်ခြင်း ပြဿနာ ဆိုရှယ်မီဒီယာပလက်ဖောင်းများ ကြီးထွားလာခြင်းသည် နိုင်ငံသားများအတွက် နိုင်ငံရေးအရ ပါဝင်မှုကို လွယ်ကူချောမွေ့စေပြီး သန်းပေါင်းများစွာသော နိုင်ငံသားများအတွက် ပါဝင်မှုကုန်ကျစရိတ်ကို သက်သာစေသည် (Ahmed & Madrid-Morales, 2020; Gil de Zúñiga et al., 2012; 2014)။ သို့သော် များစွာသောသူတို့သည် နိုင်ငံရေးကို စိတ်ပါဝင်စားခြင်းမရှိဘဲ တက်ကြွစွာပါဝင်ခြင်း မရှိကြချေ (Ahmed & Gil-Lopez၊ 2022; Zhelnina၊ […]

Issue 34

Japan-Singapore Relations and Shinzo Abe

The murder of the former Prime Minister Shinzo Abe created shock waves to the world, including Singapore. Prime Minister Lee Hsien Loong wrote on his Facebook wall immediately after Abe was shot on July 8th, […]

Issue 27

Migrant Workers and the PAP: Who is Dependent on Whom?

Throughout the Covid-19 crisis, Prime Minister Lee Hsien Loong and other high-ranking ministers of the Singapore government have repeatedly expressed gratitude to migrant construction workers for their role in building the gleaming city-state. These low-paid […]

Issue 19

The Curious Case of Buddhist Activism in Singapore

Buddhist activism has been a subject of considerable discussion among academics, policy makers, and practitioners in recent years. Buddhist activists, consist of both the Sangha and laity, have sought to promote social justice, campaign for political […]

Issue 19

กรณีน่าสนใจเกี่ยวกับกิจกรรมทางสังคมของขบวนการพุทธศาสนาในสิงคโปร์

กิจกรรมทางสังคมของขบวนการพุทธศาสนาเป็นหัวข้อที่มีการอภิปรายกันมากพอสมควรในหมู่นักวิชาการ นักวางนโยบายและพุทธศาสนิกชนในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา นักกิจกรรมชาวพุทธที่มีทั้งพระสงฆ์และฆราวาส ต่างก็พยายามสนับสนุนให้เกิดความยุติธรรมทางสังคม การรณรงค์เพื่อการปฏิรูปทางการเมือง ส่งเสริมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และปกป้องความศรัทธาของตนจากภัยคุกคามและคำสอนที่แตกต่างไปจากความเชื่อดั้งเดิม ในบริบทของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เมื่อเอ่ยถึงกิจกรรมทางสังคมของชาวพุทธ เรามักนึกถึงภาพการเคลื่อนไหวเพื่อสันติภาพของพระมหาโฆษนันทะและติช นัท ฮันห์ การเคลื่อนไหวทางการเมืองและสังคมของสุลักษณ์ ศิวรักษ์ และที่ขาดเสียไม่ได้ก็คือ “การปฏิวัติผ้ากาสาวพัสตร์” (Saffron Revolution) ที่เกิดขึ้นในพม่าเมื่อ ค.ศ. 2007 อย่างไรก็ตาม กิจกรรมเหล่านี้ไม่ใช่เรื่องแปลกประหลาดสำหรับประเทศในแผ่นดินใหญ่ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่มีประชากรส่วนใหญ่นับถือพุทธศาสนา กระนั้นก็ตาม ชุมชนชาวพุทธในประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่แวดล้อมด้วยทะเลก็มีกิจกรรมทางสังคมไม่น้อยหน้าเช่นกัน เมื่อเอ่ยถึงประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่แวดล้อมด้วยทะเล เรามักนึกถึงโลกมลายูอิสลามที่ในปัจจุบันประกอบด้วยประเทศบรูไน อินโดนีเซียและมาเลเซีย รวมทั้งประเทศฟิลิปปินส์ที่ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก ส่วนสิงคโปร์ค่อนข้างแปลกแยกแตกต่างออกไปเพราะการมีประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวจีน (ประมาณ 75%) และสิ่งที่คนจำนวนมากไม่ค่อยรู้ก็คือประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวพุทธด้วย จากการสำรวจสำมะโนประชากรของสิงคโปร์ในปี 2010 […]

Book Reviews

REVIEW: Kampong Boy

Kampong Boy is the journey of a freethinker and empathetic spirit who has made the choice to live by his own terms despite external hurdles. […]

Issue 19

Review: Corridor (12 short stories)

Corridor (12 short stories)Alfian Sa’atSingapore: Ethos Books, 2015 (second edition) “Behind these fantastic stories however, was the faint hope that somehow, I had found someone who shared something in common with me.” (“Duel” in Corridor 68) […]

Issue 18

Activism to Decriminalise Homosexuality in Singapore

On 28 October 2014 Singapore’s highest court ruled that the law criminalising sexual relations between men, Section 377A of the Penal Code, was constitutionally valid. This disappointing ruling nonetheless marked a vibrant phase of queer […]

Issue 17

Mobilizing around Inequality in Malaysia and Singapore

Survey data and pundits alike located the root of pivotal opposition gains in the most recent elections in Singapore (2011) and Malaysia (2013) in economics—specifically, rising costs of living, fear of declining opportunities, and awareness […]