Issue 33

รัฐประหารดิจิทัลภายใต้การปกครองของทหารในเมียนมา: ช่องทางใหม่สำหรับการกดขี่ปราบปรามในโลกออนไลน์

เมียนมาไม่ใช่คนแปลกหน้าสำหรับการปกครองระบอบเผด็จการทหารและการจำกัดเสรีภาพสื่อที่เป็นของคู่กัน  แต่ในช่วงทศวรรษสั้นๆ ระหว่างปี 2011 จนถึง 2021 เมียนมาเริ่มโผล่ออกมาจากภาวะจำศีลอันมืดมิดยาวนานถึงห้าทศวรรษที่มีแต่วิทยุโทรทัศน์และหนังสือพิมพ์ของรัฐที่เซนเซอร์ความคิดเห็นอย่างเข้มงวด ชาวเมียนมาก้าวออกมาพบกับโลกยุคศตวรรษที่ 21 ซึ่งโทรศัพท์มือถือและสื่อสังคมออนไลน์มีอยู่ทุกหนแห่ง  ซิมการ์ดของโทรศัพท์มือถือที่เคยมีราคาหลายพันดอลลาร์ในยุคทศวรรษ 2000 ภายใต้การปกครองของกองทัพ ราคาลดลงเหลือแค่ 1.50 ดอลลาร์ในครึ่งหลังของปี 2014 เมื่อบริษัทต่างชาติเริ่มเข้ามาดำเนินธุรกิจในประเทศเป็นครั้งแรก  การใช้เฟสบุ๊กในโทรศัพท์มือถือกลายเป็นเครื่องสื่อสารโดยพฤตินัยภายในประเทศ แซงหน้าอีเมล์และเครือข่ายโทรศัพท์พื้นฐาน รวมทั้งกลายเป็นแหล่งข่าวสารสำคัญด้วย  (Simpson 2019) สภาพแวดล้อมของสื่อที่ได้รับการปลดแอกแต่ไร้การควบคุมเช่นนี้มีผลดีต่อสังคมและเศรษฐกิจอย่างมหาศาล แต่ก็มีผลลัพท์ด้านลบเช่นกันในแง่ของการแพร่ขยายวาทะสร้างความเกลียดชังหรือเฮทสปีชที่มุ่งเป้าชนกลุ่มน้อย โดยเฉพาะชาวโรฮิงญา (Simpson and Farrelly 2021b)  กระนั้นก็ตาม ช่องทางเข้าถึงเทคโนโลยีเหล่านี้ ซึ่งมาพร้อมกับทศวรรษของการปฏิรูปการเมืองและเศรษฐกิจ ก่อให้เกิดวิถีโคจรที่มุ่งไปสู่สังคมที่เปิดกว้าง มีความเป็นประชาธิปไตยและโปร่งใสมากขึ้น […]

Issue 33

ミャンマー軍事支配下のデジタル・クーデター 弾圧のための新たなオンラインの手法

ミャンマーにとって、軍事独裁支配や、それに伴うメディア規制は何も目新しいものではない。ただし、2011年から2021年の間は別で、このわずか10年間に、ミャンマーは50年におよぶ暗黒時代から抜け出そうとしていた。当時、ミャンマーは、検閲済みの厳めしい国営放送や国営新聞が幅を利かせた時代から、携帯電話やソーシャルメディアが普及する21世紀の世界へと向かっていた。例えば、2000年代の軍政下では数千ドルもした携帯電話のSIMカードは、国内で最初の外国企業が操業を開始した2014年後半に1.5米ドルまで値下がりした。また、携帯電話のフェイスブック(FB: Facebook)は、電子メールや固定電話回線ネットワークを一足飛びに飛び越し、事実上、国内の連絡手段や主な情報源となった(Simpson 2019)。 この解放的でありながら、無法状態のメディア環境は、社会・経済面で多大な恩恵があった反面、主にロヒンギャなどの少数民族に対するヘイトスピーチの拡散も引き起こした(Simpson and Farrelly 2021b)。それでも、これらの技術が利用可能となり、さらに10年間の政治・経済改革もあり、たとえ非常に低い基準からにせよ、より開かれた民主的で透明性の高い社会への道筋が開かれた。 ところが、2021年2月1日、前年11月に圧倒的多数で再選された国民民主連盟(NLD: the National League for Democracy)率いる政府を国軍が追放し、この進歩が打ち砕かれた。この日の朝、国軍は、アウン・サン・スー・チー国家顧問や、大統領などのNLD議員、活動家を逮捕して政治機構を乗っ取った。そして、全国的な大規模デモの後、インターネットやソーシャルメディアの使用が禁止、制限され、戦争犯罪や人道に対する罪にも等しい弾圧が広まった(Andrews 2022; Fortify Rights 2022; Human Rights Watch 2021; Simpson 2021a)。 また、NLD政権下では、新サイバー・セキュリティ法の準備が進められていたが、軍政、国家行政評議会(SAC: the State Administration Council)は、クーデター直後に意見聴取のための草案を発表した。これに対し、企業団体やNGOからは厳しい批判があったが、2022年の初めに配布された最新の草案は、以前にも増してひどいものだった(Free Expression Myanmar 2022)。この新法案には国内外から強い反対があったが、この記事の執筆時点(2022年6月)では、まだSACのサイバー・セキュリティ委員会がその反響を検討していた。この記事では、ミャンマーにおける検閲とメディア規制の歴史を手短に紹介し、新たなサイバー・セキュリティ草案の人権に対する影響を分析する。 2021年クーデター以前の検閲 1962年の軍事クーデターから2011年まで、ミャンマーは軍事独裁支配を様々な形で経験してきた。例えば、民間の日刊紙は存在せず、民間のメディア事業者や出版社、ミュージシャンやアーティストは、誰もが事前に報道審査委員会(Press Scrutiny Board)に作品を提出しなければならなかった。この発表前の検閲により、国軍や政府に対する批判が含まれていないかどうかを確認する必要があったのだ。このように、発表してよいものには厳しい制限があった。例えば、1988年の全国的なデモで、アウン・サン・スー・チーが有名になった後、彼女について一言でも触れた出版物は、破られるか、黒く塗りつぶされる事となった。また、当時はテレビやマスコミの多くが国家の機関だった。 […]

Issue 33

မြန်မာနိုင်ငံ စစ်အုပ်ချုပ်ရေးအောက် ဖြစ်ပွားနေသည့် ဒစ်ဂျစ်တယ် အာဏာသိမ်းမှု ဖိနှိပ်ချုပ်ချယ်ရန် အွန်လိုင်းနယ်ပယ်သစ်များ

မြန်မာနိုင်ငံသည် စစ်အာဏာရှင်စနစ်နှင့် သူနှင့်အတူပါလာသည့် မီဒီယာ ကန့်သတ်ချက်များနှင့် စိမ်းကားလှသည့် နိုင်ငံမဟုတ်ချေ။ သို့သော် ဆင်ဆာ ဖြတ်တောက်ခြင်း ခံထားရသော အစိုးရ၏ သတင်း ထုတ်လွှင့်မှုများ၊ သတင်းစာများကို မှီခိုနေရသည့် ဆယ်စုနှစ်ငါးခုကြာ အမှောင်တိုက်သဖွယ် ဖြစ်နေသည့်  အခြေအနေမှ တိုတောင်းလှသည့် ဆယ်စုနှစ်တာ ကာလ ၂၀၁၁ မှ ၂၀၂၁ အတွင်း မိုဘိုင်းဖုန်းများ၊ ဆိုရှယ်မီဒီယာများ နေရာအနှံ့သုံးစွဲနိုင်သော ၂၁ ရာစုကမ္ဘာထဲသို့ ရောက်ရှိလာခဲ့သည်။ စစ်အုပ်ချုပ်ရေးအောက် ၂၀၀၀ […]

Issue 31

ระบอบสหพันธรัฐในฐานะธงนำการปฏิวัติของเมียนมา

นับตั้งแต่ได้รับเอกราชเป็นต้นมา เมียนมาพยายามแสวงหาระบบการเมืองที่จะรองรับอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม ภาษา ชาติพันธุ์และศาสนาอันหลากหลายรุ่มรวยของตน  ชนกลุ่มน้อยชาติพันธุ์เรียกร้องระบอบสหพันธรัฐมาตลอด โดยเชื่อว่าจะเป็นวิถีทางหนึ่งในการสร้างหลักประกันให้แก่ความเท่าเทียมและสิทธิของทุกกลุ่มชน  อย่างไรก็ตาม ภายใต้ระบบรวมศูนย์รวบอำนาจที่เผด็จการทหารยัดเยียดให้แก่ประเทศ ซึ่งควบคุมปกครองเมียนมามาตั้งแต่ปี 1962 จนถึงปี 2010 การหยิบยกประเด็นระบอบสหพันธรัฐมาอภิปรายถกเถียงกันเป็นเรื่องที่เป็นไปไม่ได้  การเปลี่ยนผ่านทางการเมืองภายใต้รัฐธรรมนูญฉบับปี 2008 ก่อให้เกิดรูปแบบระบอบสหพันธรัฐที่มีลักษณะรวมศูนย์  แม้กระทั่งภายใต้รัฐบาลพรรคสันนิบาตแห่งชาติเพื่อประชาธิปไตย (National League for Democracy—NLD) (2016-2021) การดำเนินนโยบายในภาคปฏิบัติและวิสัยทัศน์ของรัฐบาลเมียนมาก็ยังคงมีลักษณะรวมศูนย์เช่นเดิม หลังจากสรุปประวัติศาสตร์ด้านนี้พอสังเขปแล้ว บทความนี้เน้นความสนใจไปที่สภาพการณ์ต่างๆ ซึ่งการรัฐประหารปี 2021 ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงวิวาทะเกี่ยวกับระบอบสหพันธรัฐอย่างลึกซึ้ง  บทความจะวิเคราะห์ถึงการที่กลุ่มผู้นำหนุ่มสาวของชนกลุ่มน้อยชาติพันธุ์ผลักดันให้ประเด็นระบอบสหพันธรัฐกลายเป็นจุดศูนย์กลางของข้อเรียกร้องของขบวนการต่อต้านรัฐประหาร และชี้ให้เห็นจุดยืนที่เปลี่ยนไปในวาทกรรมที่เกี่ยวข้องกับประเด็นชาติพันธุ์  กล่าวคือ มีการเปลี่ยนจุดยืนจากก่อนหน้านี้ที่เน้นระบอบสหพันธรัฐซึ่งตั้งอยู่บนตัวแบบวงศ์วาน-ชาติพันธุ์ (ethnic-genealogical model) เปลี่ยนมาเป็นระบอบสหพันธรัฐที่ตั้งอยู่บนตัวแบบอาณาเขต-ประชากร […]

Issue 31

ミャンマーの革命の焦点、連邦主義

独立以来、ミャンマーが模索してきたのは、自国の豊かな文化や言語、民族、宗教のアイデンティティーを包摂できる政治機構だ。これまで、少数民族は連邦主義を、全ての民族集団の平等や権利を確保する手段と主張してきた。だが、1962年から2010年までミャンマーを統治した軍事独裁政権は、極めて中央集権的な政治体制を敷いた。そのため、このような体制下で、連邦主義の議論をする事は一切不可能だった。その後、2008年憲法の下で行われた民政移管は、中央集権型の連邦主義を生み出した。ところが、ビルマ政府の実態や構想は、国民民主連盟(National League for Democracy: NLD)政権(2016-2021)の下でさえ、中央政権的なものに止まっていた。 これについて、この記事では歴史的概要を述べた後、2021年のクーデターが連邦主義をめぐる政治論争をどのように根底から変えたかという事に焦点を当てる。まず、少数民族の若手指導者が、いかに連邦主義を反クーデター運動の中心的要望としているかを考察した上で、エスニシティに関するディスコースの変化にも言及する。このディスコースについては、以前の民族系統モデル(ethnic-genealogical models)から、包摂的な行政区域モデル(civil-territorial model)の連邦主義へと焦点が移りつつある。次に、連邦議会代表委員会(the Committee Representing the Pyidaungsu Hluttaw: CRPH)が2008年憲法を廃止し、連邦民主憲章(Federal Democracy Charter)を採択した事の重大性を考察する。ちなみに、同憲章の第一部では、幅広い視野の連邦制の原則が謳われている。これらの展開や、連邦主義がミャンマー政治の未来として認められた事は、連邦主義の実現に向けた過去数十年間の取り組みの成功を示している。だが、エスニシティや地理的環境、市民権、宗教などをめぐる、根深く、多角的で重層的な社会の格差は今も残されている。つまり現在の状況は、これらの格差を解消しておらず、国民を一夜にして団結させるものでもない。さらに、不信感も根強く残っている。その上、連邦民主憲章の第一部に提示された価値観を実践し、連邦制を樹立するには、特に同憲章第二部に関する現実的な交渉が必要となるだろう。 ミャンマーにおける連邦制のジレンマ ミャンマーは民族、宗教、言語、文化に関して、極めて多様な国であるが、数の上では仏教徒のビルマ族が大多数を占め、彼らが昔から政府を牛耳ってきた。一方、少数民族の(各種政党や少数民族武装勢力: Ethnic Armed Organizations: EAOsの)指導者は長年、連邦主義をビルマ族による搾取や抑圧などから自民族の権利や利益を護り、中央政府から州レベルに権力を移行させる手段と考えてきた。そのため、このような地方分権化や連邦主義を求める声が、国家の指導者から歓迎された事は滅多になかった。早くも1959年には、Silversteinが「連邦制のジレンマ(federal dilemma)」という新たな言葉を編み出している。この言葉は、指導者が多数派優位型の民主主義を望みつつも、政治的な理由から、少数民族のためにある程度、連邦主義の要素を認めざるを得ない状況を表している。 1962年から2010年にかけ、ミャンマーを支配した軍事政権は極めて中央集権的な体制を築いた。当時、軍事支配の正当化の理由の一つに、国家崩壊を回避する必要性が挙げられ、連邦主義は(少数民族州による分離への第一歩となる可能性があるとして)問題視された。その後、2010年に始まった政権移行と共に、連邦主義の話題はタブーではなくなったが、2008年憲法下でも、権力は依然として中央に集中し続けた。 また、NLD政権下でも、前政権と同様に、いずれの政治機構が少数民族の求める自治を実現しつつ、その他の問題を生み出さない、あるいは悪化させないかという点で、政治的エリートの意見が割れたままとなった。だが一方では、大きな歩み寄りも生じ、ミャンマーの未来が連邦国家にあるという意見の一致で、和平プロセスをめぐる交渉が収束した。それでもなお、特に「連邦制民主主義(federal democracy)」と「民主主義連邦国家(democratic federal state)」の違いなど、用語をめぐる激しい意見の対立が残った。この対立は、ステークホルダー間の信頼欠如を反映すると共に、NLDが連邦主義より民主化を優先しているという認識を少数民族の指導者に抱かせる一因ともなった。 一方、市民社会団体は、民政移管後に開放された市民空間がもたらした機会を捉え、市役所で開催されるような集会から、より個別の需要に即した専門講座まで、連邦主義に関する幅広い教育活動を実施した。このような活動によって問題意識が広まり、連邦制はまぎれもなく開発のディスコースの一部となり、新たな連邦制支持者も確保された。 反クーデター運動とゼネスト民族委員会(GSC-N)における連邦主義 そもそも、2021年2月1日のクーデター直後には、連邦主義は政治的要望の焦点ではなかった。初期の反対運動の要望は、政治的指導者の釈放と民選政府の復元であり、連邦主義には言及していなかった。つまり、当初のデモ隊はクーデターの撤回を要求していたものの、2008年憲法によって規定された概念的枠組を越える事はなかった。むしろ、今回の反クーデター運動に、連邦制民主主義という政治的要望を持ち込んだのは、ゼネスト民族委員会(the General Strike Committee of […]

Issue 31

Ang Pederalismo sa Unahan ng Rebolusyon ng Myanmar

Mula nang makamit ang kasarinlan, ang Myanmar ay naghahanap ng isang sistemang pampolitika na magbibigay lugar sa mayaman nitong mga pangkultura, linguistiko, etniko at relihiyosong pagkakakilanlan.  Nanawagan ng pederalismo ang mga etnikong minorya bilang daan […]

Issue 31

မြန်မာ့တော်လှန်ရေး ရှေ့တန်းက ဖက်ဒရယ်လစ်ဇင်

မြန်မာနိုင်ငံသည် ၄င်း၏ ကြွယ်ဝလှသည့် ယဥ်ကျေးမှု၊ ဘာသာစကား၊ လူမျိုးအုပ်စုနှင့် ဘာသာရေး သရုပ်လက္ခဏာများကို လက်ခံနေရာပေးနိုင်သည့် နိုင်ငံရေးစနစ်တခုကို ရှာဖွေလာခဲ့သည်မှာ လွတ်လပ်ရေး ရပြီးချိန်ကစပြီးပင် ဖြစ်လေသည်။ လူနည်းစု လူမျိုးစုများက အုပ်စုအားလုံး၏ တန်းတူညီမျှမှုနှင့် အခွင့်အရေးများကို အကာအကွယ်ပေးနိုင်သည့် နည်းလမ်းတရပ်အနေဖြင့် ဖက်ဒရယ် စနစ်ကို တောင်းဆိုလာခဲ့ကြပါသည်။ သို့သော်လည်း ၁၉၆၂ မှ ၂၀၁၀ အထိ မြန်မာနိုင်ငံကို အုပ်စိုးခဲ့သည့် စစ်အာဏာရှင်စနစ်များ၏ အလွန်အမင်း ဗဟိုချုပ်ကိုင်မှုများသည့် စနစ်အောက်တွင် […]