Issue 37

ทำน้อยได้มาก? ความเป็นไปได้และข้อจำกัดของการบริหารรัฐกิจด้วยระบบแพลตฟอร์มในประเทศไทยยุคหลังรัฐประหาร

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้เปรียบเสมือนผืนดินอันอุดมสมบูรณ์สำหรับการงอกงามของเศรษฐกิจแพลตฟอร์ม  เช่นเดียวกับเศรษฐกิจแพลตฟอร์มในพื้นที่อื่นๆ บริษัทแพลตฟอร์มของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (อาทิ Grab, Lazada, Shopee) ได้พลิกโฉมหน้าชีวิต เศรษฐกิจ โครงสร้างแรงงาน และพื้นที่เมืองในภูมิภาคนี้  ยังมีอีกแง่มุมหนึ่งของ “กระบวนการเปลี่ยนผ่านสู่ระบบแพลตฟอร์ม” (platformization) ที่เพิ่งเกิดขึ้นเร็วๆ นี้และมีความสำคัญไม่แพ้กัน กระนั้นกลับได้รับความสนใจค่อนข้างน้อยกว่า นั่นคือ การเกิดขึ้นของ “การบริหารงานภาครัฐด้วยระบบแพลตฟอร์ม” (platform governance)  Ansell and Miura (2020) นิยามการบริหารรัฐกิจด้วยระบบแพลตฟอร์มว่า “สถาบันที่ใช้สถาปัตยกรรมของมันในเชิงยุทธศาสตร์เพื่องัดง้าง กระตุ้น และควบคุมขับเคลื่อนปฏิบัติการทางสังคมที่กระจัดกระจาย ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์เพื่อบรรลุเป้าหมายด้านการบริหารรัฐกิจตามที่มุ่งหมายไว้”   การนำมาใช้และการปรับแปลงแนวคิดระบบแพลตฟอร์มของผู้กระทำการทางการเมืองท้องถิ่นในประเทศไทยดำเนินไปท่ามกลางบริบทเชิงสถาบันและการเมืองที่มีลักษณะเฉพาะ  ในระดับชาติ ประเทศไทยอยู่ภายใต้รัฐบาลผสมที่กองทัพเป็นผู้นำมาตั้งแต่การรัฐประหารปี […]

Issue 37

少ない労力でより多くを行う? クーデター後のタイにおけるプラットフォームガバナンスの可能性と限界

東南アジアは、プラットフォーム経済を生み出す豊かな土壌だ。他の地域のプラットフォームと同様に、この地域のプラットフォーム企業(Grab, Lazada, Shopeeなど)も、地域の暮らしや経済、労働力構造、都市空間を一変させた。これに対し、「プラットフォーム化」の側面として、最近、出現した「プラットフォームガバナンス」も、同様に重要だが、これはあまり注目されていない。AnsellとMiura (2020)は、プラットフォームガバナンスを「その構造を戦略的に導入し、特定のガバナンス上の目的を達成するため、分散的な社会的行為を活用、促進、抑制する機構」と定義する。 タイの地方政治のアクターによる、プラットフォーム概念の導入と変形は、特有の機構的、政治的背景の下で展開される。すなわち、タイは、2014年のクーデターから最近まで、全国レベルで、軍部主導の連立政権下に置かれていた。 とはいえ、地方の市長は選挙で選ばれ、当選するには市民の支持を育む必要がある。だが、一度、権力の座に就くと、彼らの行く手を中央集権的な財政制度が阻む。というのも、この制度下では、内務省によって県知事(puwa)が任命され、地方財政が制約を受けるからだ。例えば、地方レベルの首都統治機構であるバンコク首都圏庁(BMA: the Bangkok Metropolitan Administration)は、2022年に、予算の81%を中央政府からの財政移転で受け取った。 こうした中、「少ない労力で、より多くを行う」手段の一つとして、デジタル・プラットフォームが受け入れられてきた。つまり、これらのプラットフォームは、地方官僚が選挙区民と対話し、乏しい財源を各都市に配分する手段として、官僚たちに実権と、言論の力を与えている。 タイランド4.0  タイをデジタル時代にアップグレード? 2014年のクーデターから2年後の2016年、プラユット・チャンオチャ将軍の軍事政府は、その代表的政策の一つ、「タイランド4.0(Thailand 4.0)」を発表した。この政策には、タイをデジタル化させ、「中所得国の罠」から抜け出させる目的があった。2017年の第12次国家経済社会5カ年開発計画(The 12th 5 year National Economic and Social Development Plan)では、政府のデジタル化計画や、最先端の「Sカーブ」産業の推進計画など、タイランド4.0のコンセプトが力説された。さらに、2016年には、改称されたデジタル経済社会省(MODES: Ministry of Digital Economy and Society)が設立され、「デジタル経済振興庁(DEPA: Digital Economy Promotion Agency)」に「スマートシティ」(タイ語で “meuang […]

Issue 37

လျှော့လုပ်ခြင်းဖြင့် ပိုအကျိုးဖြစ်လေသလား အာဏာသိမ်းပြီးနောက် ထိုင်းနိုင်ငံတွင် ပလက်ဖောင်းအုပ်ချုပ်ရေး၏ ဖြစ်နိုင်ခြေများနှင့် ကန့်သတ်ချက်များ

အရှေ့တောင်အာရှသည် ပလက်ဖောင်းစီးပွားရေး (platform economy) ထွန်းကားရန် ရေခံမြေခံ ကောင်းသည့် နေရာ ဖြစ်သည်။​ အခြားနေရာများရှိ ပလက်ဖောင်းများကဲ့သို့ပင် အရှေ့တောင်အာရှ ပလက်ဖောင်းကုမ္ပဏီများ (ဥပမာ Grab၊ Lazada၊ Shopee) သည် ဒေသတွင်းရှိ လူမှုဘဝ၊ စီးပွားရေး၊ လုပ်အားဖွဲ့စည်းပုံများနှင့် မြို့ပြနေရာများကို ပြောင်းလဲစေခဲ့သည်။ “ပလက်ဖောင်းများ ပေါ်ထွက်လာခြင်း” ၏ တစိတ်တပိုင်းဖြစ်ပြီး ယင်းနှင့် ထပ်တူထပ်မျှ အရေးကြီးကာ မကြာသေးမီကမှ ပေါ်ထွက်လာသည့် “ပလက်ဖောင်းများကို အုပ်ချုပ်ထိန်းကျောင်းခြင်း” […]