Issue 5 Mar. 2004

Editorial: Issue 5 of the Kyoto Review of Southeast Asia

Issue 5 presents a diverse look at Islam in Southeast Asia. Our Review Essays discuss the Islamization of knowledge among Malaysian intellectuals and the intersection of Islamic law and gender issues in Malaysia, Indonesia, Singapore, and the […]

Issue 5 Mar. 2004

地形をマッピングする: マレーシアにおける知識のイスラム化政策と文化

         Georg StauthPolitics and Cultures of Islamization in Southeast Asia: Indonesia and Malaysia in the Nineteen-nineties『東南アジアにおけるイスラム化政策と文化: 1990年代のインドネシアとマレーシア』Bielefeld / Transcript Verlag / 2002  Mona AbazaDebates on Islam and Knowledge in Malaysia and Egypt: Shifting Worlds『マレーシアとエジプトにおけるイスラム教と知識に関する議論: 移りゆく世界』London […]

Issue 5 Mar. 2004

การกำหนดขอบเขต : การเมืองและวัฒนธรรมการปรับเปลี่ยนความรู้ให้เป็นแบบอิสลามในประเทศ มาเลเซีย

         Georg StauthPolitics and Cultures of Islamization in Southeast Asia: Indonesia and Malaysia in the Nineteen-nineties[การเมืองและวัฒนธรรมการทำให้เป็นอิสลามในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ : ประเทศอินโดนีเซียและ มาเลเซียในทศวรรษ 1990] Bielefeld / Transcript Verlag / 2002  Mona AbazaDebates on Islam and Knowledge in Malaysia and Egypt: […]

Issue 5 Mar. 2004

Women, Islam, and the Law

         Hjh. Nik Noriani Nik Badlishah, editorIslamic Family Law and Justice for Muslim WomenMalaysia / Sisters in Islam / 2003 Gender, Muslim Laws and Reproductive RightsDavao City / Pilipina Legal Resources Center, Inc. / 2001 […]

Issue 5 Mar. 2004

Perempuan, Islam, dan Hukum

         Hjh. Nik Noriani Nik Badlishah, editorIslamic Family Law and Justice for Muslim Women[Hukum Islam dan keadilan untuk perempuan muslim]Malaysia / Sisters in Islam / 2003 Gender, Muslim Laws and Reproductive Rights[Jender, hukum Islam dan […]

Issue 5 Mar. 2004

Kababaihan, Islam, at ang Batas

         Hjh. Nik Noriani Nik Badlishah, editorIslamic Family Law and Justice for Muslim Women[Batas pangmag-anak ng Islam at katarungan para sa kababaihang Muslim]Malaysia / Sisters in Islam / 2003 Gender, Muslim Laws and Reproductive Rights[Kasarian, […]

Issue 5 Mar. 2004

女性とイスラム教と法律

         Hjh. Nik Noriani Nik Badlishah, editorIslamic Family Law and Justice for Muslim Women『イスラムの家族法およびイスラム女性のための正義』Malaysia / Sisters in Islam / 2003 Gender, Muslim Laws and Reproductive Rights『性、イスラム法および生殖に関する権利』Davao City / Pilipina Legal Resources Center, Inc. / 2001 […]

Issue 5 Mar. 2004

Abstract— Women, Islam, and the Law

         Hjh. Nik Noriani Nik Badlishah, editorIslamic Family Law and Justice for Muslim WomenMalaysia / Sisters in Islam / 2003 Gender, Muslim Laws and Reproductive RightsDavao City / Pilipina Legal Resources Center, Inc. / 2001 […]

Issue 5 Mar. 2004

สตรี อิสลาม และกฎหมาย

         Hjh. Nik Noriani Nik Badlishah, editorIslamic Family Law and Justice for Muslim Women[กฎหมายครอบครัวของอิสลาม และความยุติธรรมต่อสตรีมุสลิม]Malaysia / Sisters in Islam / 2003 Gender, Muslim Laws and Reproductive Rights[เพศสถานะ กฎหมายของชาวมุสลิม และสิทธิในการสืบเผ่าพันธุ์]Davao City / Pilipina Legal Resources Center, […]

Issue 5 Mar. 2004

In Search of Islamic Art in Southeast Asia

Barangay Oring-oring is a village in Brooke’s Point, Palawan, where women weave mats. These women belong to the Jama Mapun, an Islamicized group of people related to the Sama, an ethnolinguistic group found predominantly in […]

Issue 5 Mar. 2004

Blue Blood of the Big Astana —Ibrahim A. Jubaira

Ibrahim Jubaira is perhaps the best known of the older generation of English language-educated Muslim Filipino writers and one of the most prolific, with three volumes of short stories published and two more collections of […]

Issue 5 Mar. 2004

Si Darah Biru dari Istana Besar —Ibrahim A. Jubaira

(Terjemahan oleh Bayu Kristianto) Meski hati tidak lagi peduli, pikiran selalu dapat mengingat kembali. Pikiran selalu dapat mengingat kembali, karena selalu ada hal-hal untuk diingat: hari-hari lesu masa kecil yang menyedihkan; hari-hari ceria yang dinikmati […]

Issue 5 Mar. 2004

เลือดสีน้ำเงินแห่งอัสตานา ผู้เขียน —Ibrahim A. Jubaira

ผู้แปล  ปทมา อัตนโถ (Patama Attanatho)         แม้หัวใจจะไม่ยี่หระอีกต่อไปแล้ว แต่จิตใจก็ยังมีภาพเหล่านั้นวกกลับมาอยู่ร่ำไป  จิตใจยังคงดึงภาพในอดีตกลับมาได้เสมอ ก็เพราะมีสิ่งต่างๆ ให้จดจำมากมาย ไม่ว่าจะเป็นชีวิตวัยเด็กอันแสนจะจืดชืดซึมเศร้า ช่วงที่แสนจะมีความสุขกันในวันแดดกล้า หรือเรื่องความรักแอบแฝงและชะตากรรมที่เล่นตลก   ผมจึงคิดว่า คุณหนูเองก็น่าจะจำผมได้เช่นกัน จำได้ไหมครับ  ผมกลายเป็นเด็กกำพร้าได้ปีเศษๆ ป้าก็ตกลงใจยกผมให้ท่านดาตูท่านพ่อของคุณหนู   สมัยนั้น ดาตูมีหน้าที่ดูแลคนจนและคนไร้ที่พึ่งพิง ดังนั้นป้าก็ทำถูกแล้วที่ให้ผมไปอยู่ในความอนุเคราะห์ของท่านพ่อคุณหนู  นอกจากเหตุผลนั้นแล้ว ก็เป็นเพราะป้าแกเป็นคนจนด้วย  จนขนาดที่ว่า พอยกผมให้ท่านพ่อคุณหนูแล้ว ป้าไม่เพียงได้บรรเทาความค่นแค้นของตนเองเท่านั้น แต่ยังทำให้ผมมีชีวิตความเป็นอยู่ดีขึ้นด้วย แต่พอมานึกถึงการที่ต้องพรากจากป้าไปแม้ชั่วขณะ ผมก็แทบทนไม่ได้  ตลอดเวลาที่ผ่านมานี้ ป้าเป็นเสมือนแม่ของผม และจะเป็นเช่นนั้นตลอดไป “นะฮะ บาโบ” ผมร้องขอ  “เลี้ยงผมต่อไปอีกสักหน่อยเถอะฮะ ขอให้ผมอยู่กับป้าไปจนโตเถอะนะฮะ แล้วผมจะสร้างบ้านให้ป้า  สักวันผมจะตอบแทนป้าให้ได้  ให้ผมช่วยยังไงก็ได้ฮะ  นะ บาโบ นะฮะ […]

Issue 5 Mar. 2004

Peace Demands Trust and Truth

In this 25 March 2004 Bangkok Post commentary, Assistant Editor Sanitsuda Ekachai connects unrest in the South and the 14 March disappearance of civil rights lawyer Somchai Neelapaijit with other recent disturbing events in Thailand – the […]

Issue 5 Mar. 2004

Review: David Rumsey On-line Historic Maps

URL: davidrumsey.comCreator: David Rumsey, President, Cartography Associates, San Francisco, California The Past as a Foreign Country: Exploring Historical Maps on the Internet [quote]It appears that the operational domain of the mapping discourse extends far beyond the […]

Issue 5 Mar. 2004

Young Muslims Speak Out

A young man sat calmly in front of judges in a court room in Denpasar, Bali. With long hair and a beard, he looked different when he was arrested in West Java a couple of months earlier. Imam […]

Issue 5 Mar. 2004

Women and Islam in Malaysia

There is tremendous preoccupation with Islam in Malaysia today. Unfortunately, much of it is focused on form rather than substance, the effects of which are largely felt by Muslim women. Malaysia portrays itself as a […]

Issue 5 Mar. 2004

Beyond the Jilbab

Yuli Suriani is a student at the Banda, Aceh-based Syiah Kuala University, who also works as a radio broadcaster. She is petite and usually wears blue jeans and a canvas jacket. Like most women in Banda, […]

Issue 5 Mar. 2004

“A Plural Peninsula” at Walailak University

Historical Interactions among Thai, Malays, Chinese, and Others A workshop organized by:Asia Research Institute, National University of SingaporeRegional Studies Program, Institute of Liberal Arts, Walailak UniversityInstitute of Asian Studies, Chulalongkorn University Held at Walailak University, […]

Issue 5 Mar. 2004

สายใยแห่งภราดรภาพ: บนสายรากวัฒนธรรมไทยทักษิณกับมลายูตอนบน

ความเป็นตัวตนของผู้คน/ชุมชนย่อมผสานด้วยส่วนที่เป็นองคาพยพทางกายภาพและองคาพยพทางจิต  อันได้แก่ส่วนที่เป็นรูป หรือรูปแบบ (Form) องค์ประกอบ (Element) บทบาท (Role) หน้าที่ ( Function) และความเข้มแข็ง (Strength) ความเป็นอัตลักษณ์ที่แท้จริงของชุมชนจึงประกอบด้วยองคาพยพ(อวัยวะ)น้อยใหญ่ที่เป็นรูปธรรมตามสายรากแห่งชาติพันธุ์ด้านพันธุกรรมหรือเชื้อชาติสายรากหนึ่ง และอีกสายรากหนึ่งคือส่วนที่เป็น  “บุคลิกภาพ” ซึ่งสำแดงผ่านพฤติกรรมและวิถีคิดตามครรลองแห่งจารีตนิยมของกลุ่มอันอนุโลมว่าเป็นชาติพันธุ์ด้านวัฒนธรรมซึ่งมี “เจตนา” หรือธรรมาพยพเป็นตัวกำกับและขับเคลื่อน  ดังนั้นความเป็นตัวตนของผู้คน / ชุมชนจึงมีการเปลี่ยนแปลง เคลื่อนไหว หรือพลวัตอยู่ตลอดเวลา ไม่มีการหยุดนิ่ง ความเป็นคนไทยภาคใต้ตอนล่างและความเป็นคนมาเลเซียตอนบนจึงต้องมองผ่านทั้ง๒ องคาพยพ  โดยการมองทั้งส่วนที่ย้อนอดีต  ส่วนที่กำลังก่อตัว และส่วนที่พึงพยากรณ์ได้ในอนาคต มองการร่วมสายรากแต่ดึกดำบรรพ์ ชุมชนในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่างและในมาเลเซียตอนบนมีโครงสร้างระดับรากเหง้าร่วมกันเพราะต่อ เขตแดนกันและตั้งอยู่ในเขตใกล้เส้นศูนย์สูตรด้วยกัน ต่างก็มีสภาพอากาศร้อนชื้นและลมมรสุมพัดผ่านตลอดทั้งปี  โครงสร้างทางกายภาพจึงเอื้อให้โครงสร้างทางชีวภาพเหมือนและคล้ายคลึงกัน  เหมือนคนร่วมสายโลหิตกันมาและพลวัตเคียงคู่กันมาโดยตลอด เช่น ความหลากหลายคล้ายคลึงของประชากรพืช  ประชากรสัตว์ และความหลากหลายทางชีวภาพอันเป็นปัจจัยให้เกิดความหลากหลายทางภูมิปัญญาและวัฒนธรรมของชุมชน  อันเนื่องแต่ทรัพยากรธรรมชาติและสภาพแวดล้อมที่ใกล้เคียง / เหมือนกัน มองในแง่ประวัติศาสตร์ทางชาติพันธุ์  ย้อนรอยประวัติศาสตร์ไปเมื่อประมาณ ๓๕๐๐ […]