Issue 30

ขบวนการสิ่งแวดล้อมกับการเมืองเชิงศีลธรรม: วิพากษ์และทบทวนขบวนการสิ่งแวดล้อมภายใต้และ (อาจจะ) ภายหลังรัฐบาลทหารไทย

“การเคลื่อนไหวของเราไม่เกี่ยวกับการเมือง” ผู้เขียนได้ยินข้ออ้างทำนองนี้จากปากนักกิจกรรมด้านสิ่งแวดล้อมในประเทศไทยหลายครั้งหลายหน ทั้งในเวทีแสดงความคิดเห็นสาธารณะและในการประชุมวงปิด  ข้ออ้างนี้แพร่หลายเป็นพิเศษในการต่อสู้ด้านสิ่งแวดล้อมที่ได้รับการจับตามองมากที่สุดในระยะหลังสามขบวนการด้วยกัน กล่าวคือ การประท้วงต่อต้านเขื่อนแม่วงก์ การเคลื่อนไหวต่อต้านการลักลอบล่าสัตว์ป่า อันสืบเนื่องมาจากข่าวอื้อฉาวที่นักธุรกิจไทยพัวพันกับการฆ่าเสือดำ และการเคลื่อนไหวต่อต้านโครงการบ้านพักของผู้พิพากษาที่ก่อสร้างภายในเขตป่าสงวนแห่งชาติดอยสุเทพ  เหตุใดการต่อสู้ด้านสิ่งแวดล้อมในประเทศไทยจึงป่าวประกาศตัดขาดตัวเองจากการเมืองเช่นนี้?  แนวทางการเคลื่อนไหวแบบสิ่งแวดล้อมนิยม (Environmentalism) ที่ลดทอนความเป็นการเมืองแบบนี้ส่งผลอย่างไรบ้าง?  ข้ออ้างของขบวนการสิ่งแวดล้อมอาจเปลี่ยนไปอย่างไรในบริบทที่ประเทศไทยมีความขัดแย้งร้อนแรงขึ้นเรื่อยๆ?  ผู้เขียนจะสำรวจตรวจสอบคำถามดังกล่าวในบทความนี้ โดยพิจารณาถึงผลกระทบของการตัดขาดจากการเมือง  ตลอดจนแนวทางที่เป็นไปได้ที่จะก่อให้เกิดขบวนการสิ่งแวดล้อมทางการเมืองที่เข้มแข็งมากขึ้น ซึ่งจะทำให้ขบวนการด้านสิ่งแวดล้อมปรับทิศทางให้สอดรับกับเป้าหมายการต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยในระดับประเทศ การทำให้ประเด็นสิ่งแวดล้อมไม่มีการเมือง การทำให้การรณรงค์ด้านสิ่งแวดล้อมไม่เกี่ยวข้องกับการเมืองกลายเป็นแนวปฏิบัติทั่วไปภายใต้คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.)  รัฐบาลทหารปกครองประเทศไทยภายหลังการรัฐประหารเดือนพฤษภาคม 2557 จนกระทั่งเดือนกรกฎาคม 2562  ภายใต้การปกครองของกองทัพ นักกิจกรรมในทุกประเด็นต้องแบกรับการต่อสู้ทางการเมืองที่มีความเสี่ยงอย่างยิ่งทั้งต่อตัวเองและชุมชนของตน  ในบริบทที่มีการกดขี่ปราบปรามเช่นนี้ เป็นเรื่องเข้าใจได้ที่ขบวนการต่างๆ พยายามทำให้ข้อเรียกร้องของตนมีระยะห่างจากข้อเรียกร้องทางการเมืองระดับชาติเพื่อให้ตัวเองปลอดภัย  อย่างไรก็ตาม การป่าวประกาศความไม่เกี่ยวข้องกับการเมืองของบรรดานักเคลื่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อมกลับยังคงเหมือนเดิมภายใต้รัฐบาลใหม่ที่มาแทน คสช. ซึ่ง คสช.เองก็รักษาอิทธิพลของตนเอาไว้ภายหลังการเลือกตั้งที่มีข้อน่าเคลือบแคลงและเต็มไปด้วยความขัดแย้ง  […]

Issue 30

環境運動と道徳政策 ——タイ軍事政権下(後?)の環境運動を振り返る

我々の運動は政治的なものではない」。 公開討論会であれ、私的な会合であれ、タイの環境保護活動家が、これと似たような主張をするのを著者は何度も耳にした。特にこの主張が目に付くのが、最近のタイの三大環境運動だ。具体的には、メーウォン(Mae Wong)・ダム反対デモ、タイ人実業家による野生の黒ヒョウ殺しの事件に端を発する反密猟デモ、そして、ドイ・ステープ(Doi Suthep)国立公園内に予定されていた裁判官宿舎の建設計画反対デモだ。なぜ、タイの環境運動は、これほど声高に政治性の否定に熱弁をふるうのか?そして、このように政治的要素が抜かれた環境保護主義は一体、何をもたらすのか?また、環境保護の主張は、タイで益々議論が生じる状況の中で、どのように変化していくのか?本論では、これらの疑問点を検討する事で、環境運動の非政治化の影響を考えると共に、タイ民主主義の目的と、これらの運動とを合致させる、より政治色の濃い環境運動をもたらすには、どのような手段があるのかを考察する。 環境運動の非政治化 環境運動の非政治化が一般的となった背景には、2014年5月のクーデター以来、2019年7月まで、タイを支配した軍政の国家平和秩序協議会(the National Council for Peace and Order, 以下NCPO)の存在があった。つまり、全ての活動家が軍政の下で、自分とコミュニティを相当な危険にさらして政治運動に取り組む事になったのだ。そのような抑圧的な状況の中で、彼らが各自の運動の重要な主張と、より大きな政治的主張との間に距離を設け、安全を確保しようとした事は理解できる。だが、疑わしい接戦の選挙を経て、NCPOに代わって支配を続ける現政府の下でも、環境保護主義者はなお、非政治化宣言を続けているのだ。この一貫した態度から明らかとなるのは、戦略的な駆け引きだけではない。それ以上に、環境保護主義者のより大きな政策形成の根本を成す信念が浮かび上がってくる。それは、イデオロギーでないにせよ、信念であり、これが明らかになる事で、彼らの運動形成の方法も見えてくる。 タイの環境運動の大半は、環境保護を中心としたものではない。むしろ、これらの運動は、生計に対する権利や、天然資源へのアクセス権の問題を、環境保護をめぐる問題に結びつける運動なのだ。なぜこのような事になったかと言うと、環境保護と(あるいは)天然資源の保全を目的とした運動の方が、生計や資源に対する権利の問題に取り組む運動よりも、一般的な認知度を高めやすく、支持を集めやすいからだ。 このような運動の好例として、ナコーンサワン(Nakhon Sawan)県のメーウォン・ダム計画に対する反対運動がある。以前、タイの環境政治は2000年代半ばのより重大な政治紛争の下で一括りにされていたが、2013年には、この反対運動がタイの環境政治を再び活気付ける事となった。かつての反ダム運動は、現地の地域社会の生計に対する潜在的な影響を重視していた(また、それ故に中産階級の支持を多く集められなかった)。だが、これとは違って、メーウォン・ダム反対運動の主張の軸に据えられたのは、タイで最後の野生のトラ個体群の一部が生息する原生林の保護であった。この運動は、都市部の中産階級から幅広い注目を集めた。さらに、この運動は一部の人々にとって、過去10年間の環境運動を象徴するものとなった。 また、2018年の初頭に、これとは別の二つの非政治化された環境関連の事例が、大ニュースとなった。一つ目の事例は、トゥンヤイ・ナレースワン(Thungyai Naresuan)野生動物保護区内で、タイ人大物実業家が行った野生動物の密猟に対して起きた運動だ。当時、密猟者と、彼らが殺した希少な黒ヒョウの皮のグロテスクな写真に対し、この運動は説明責任を求めた。多くの人々は、猟を行った有力者が起訴を逃れるだろうと思っていた。このようにして、このデモは訴訟手続きの腐敗や、野生動物の保護に対する関心を呼び起こした。また、チェンマイ県、ドイ・ステープの保護林に侵出する裁判官宿舎計画をめぐっても、抗議者は同様の懸念を表明した。この二つの事例は、厳格な森林保護を要求する市民のデモや運動を引き起こすと同時に、汚職と権力の乱用が、環境破壊とどのように関わっているかも浮き彫りにした。 [Update]: Prosecutors said on Wednesday they are seeking to indict the president of #Thailand’s largest construction company, […]