Issue 3: Nations and Stories

Towards Reinventing Indonesian Nationalist Historiography

         The 1965 publication of An Introduction to Indonesian Historiography (Soedjatmoko et al. 1965) was a remarkable accomplishment in view of the comparative paucity of scholarship on other Southeast Asian countries at the time. Since […]

Issue 3: Nations and Stories

Menuju Penemuan Kembali Penulisan Sejarah Nasionalis Indonesia

         Suasana yang relatif bebas dari manipulasi politik tampaknya penting untuk perkembangan yang sehat bagi sebagian besar pekerjaan ilmiah, khususnya terhadap situasi yang rentan terhadap manipulasi penulisan sejarah. Dengan rejim Suharto dan segala keterbatasan politik […]

Issue 3: Nations and Stories

国民主義者によるインドネシア史「改革」

         政治的操作からの相対的自由は多くの学問上のプロジェクトが健全に発展するための必要条件である。それはとりわけ、操作されることで多大の影響をうける歴史の記述に当てはまる。スハルト体制が崩壊しその下で行われていた多くの政治的制約が過去のものとなった今、インドネシアで現に行われているようなインドネシア史記述の発展に、スハルト体制の崩壊がどのような意義をもつのか、問うべき時だろう。 かつて植民地であった多くのところで発展した歴史記述と同様、インドネシアの歴史記述もきわめてはっきりと、かつ強烈に国民主義的なものであった。インドネシア中心主義(Indonesiasentris)として知られている、ナショナリストによる歴史編纂が主張するのは次のようなことである。それは、歴史を書くという行為全体の主要な目的と(もしくは)その最終的な成果は、意図したものであれそうでないものであれ、国民国家としてインドネシアが合法的に存在することを承認し、正当化するものであるということだ。このプロジェクトの中心にあるのは、そのような実在(インドネシア)に一致すると思われる国民的アイデンティティを創出し、維持し、促進しようとすることである。 この論文はインドネシアの国民主義者による歴史編纂の中で見られる明白な改革への兆候を確認し、そこに焦点を絞って記述しようとする。ポスト・スハルト時代のより自由な雰囲気のなかで、昔からのインドネシア史記述をみなおし、長い間、そういうものとして受け入れられてきた枠組み、そしてその中で歴史の書き直しが行われるであろう枠組みを再検証することができるようになっている。私のみるところ、そこでの要点は、改革の中でこれまで新秩序と密接な関係をもっていた歴史記述がパージされつつあることにある。改革主義者は従来の政治中心の叙述的歴史を捨て、サルトノ(Sartono)によって切り開かれた社会科学の手法の妥当性を支持し、いくぶんためらいながらも、歴史記述全般においてインドネシア中心主義が必要かどうかを問う段階へと移りつつある。改革主義者はインドネシア中心主義を、「国民的」なものを促進し定義するという従来の役割から解放し、そしてこのようにして歴史記述を、国家・国民のプロジェクトの重荷から解放しようとしている。改革は未だ初期段階にある。そのため、最近出版された論文、あるいはいまから出版される論文、ガジャマダ大学(UGM)で開かれた一連のワークショップ、そして改革主義を奉ずるインドネシアの歴史家数人へのインタビューをもとに、私はいまおこりつある改革の特徴を理解し、それが向かうであろう方向を推測しようとした。 Rommel Curaming (Translated by Onimaru Takeshi.) Read the full article (in English) HERE Kyoto Review of Southeast Asia. Issue 3:  Nations and Other Stories. March 2003

Issue 3: Nations and Stories

สู่การสร้างงานเขียนประวัติศาสตร์อินโดนีเซียแนวชาตินิยมขึ้นใหม่

         บรรยากาศที่ปลอดจากการควบคุมและแทรกแซงทางการเมือง ดูจะจำเป็นต่อการเจริญเติบโตของงานวิชาการส่วนใหญ่  โดยเฉพาะงานทางประวัติศาสตร์ที่ง่ายต่อการถูกควบคุมและแทรกแซงทางการเมืองอย่างยิ่ง  เมื่อพิจารณาจากข้อเท็จจริงที่ว่า การปกครองยุคซูฮาร์โต และการจำกัดเสรีภาพทางการเมืองในยุคนั้นได้กลายเป็นอดีตไปแล้ว  ก็ถึงเวลาที่จะต้องตั้งคำถามกันว่า การล่มสลายของการปกครองยุคซูฮาร์โตก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงอะไรบ้าง ต่อพัฒนาการของงานขียนประวัติศาสตร์อินโดนีเซียในประเทศอินโดนีเซียเอง เช่นเดียวกับงานเขียนประวัติศาสตร์ส่วนใหญ่ในยุคหลังอาณานิคม ประวัติศาสตร์อินโดนีเซียมีลักษณะชาตินิยมอย่างเข้มข้นและโจ่งแจ้ง  งานเขียนประวัติศาสตร์แนวชาตินิยมที่รู้จักกันในชื่อว่า  อินโดนีเซียเซ็นทรีส  หมายถึง งานเขียนประวัติศาสตร์ที่ จะโดยตั้งใจหรือไม่ก็ตาม มีเป้าหมายหลักและ/หรือผลลัพธ์สุดท้าย ที่เป็นการประจักษ์ถึงและให้เหตุผลสนับสนุนว่า อินโดนีเซียเป็นรัฐชาติที่มีสถานภาพอันชอบธรรม ทั้งนี้งานทางประวัติศาสตร์เหล่านี้มีพื้นฐานแนวคิดที่สำคัญ คือ ความพยายามที่จะสร้าง ธำรงรักษาไว้ และส่งเสริมอัตลักษณ์ของชาติ ที่เชื่อว่าเหมาะสมกับความเป็นรัฐชาติแห่งอินโดนีเซีย บทความนี้พยายามระบุและชี้ให้เห็นร่องรอยการปฏิรูปการเขียนประวัติศาสตร์อินโดนีเซียแนวชาตินิยม  บรรยากาศที่มีเสรีภาพมากขึ้นในยุคหลังซูฮาร์โตไม่เพียงเอื้อให้เกิดการท้าทายงานเขียนประวัติศาสตร์อินโดนีเซียรุ่นเก่าเท่านั้น แต่ยังนำไปสู่การทบทวนกรอบความคิดที่มีมานาน ซึ่งยังอาจดำรงอิทธิพลต่อการเขียนประวัติศาสตร์รุ่นใหม่ต่อไป ข้าพเจ้าเห็นว่า การปฏิรูปกำลังก่อตัวขึ้น โดยถูกกระตุ้นจากความจำเป็นที่จะต้องกำจัดชำระล้างความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดที่เคยมีอยู่ระหว่าง “วงการศึกษาประวัติศาสตร์” กับ “ระเบียบใหม่” กลุ่มนักปฏิรูปปฏิเสธประวัติศาสตร์แบบแผนแนวพรรณนาความที่มุ่งเน้นกิจกรรมทางการเมืองเป็นหลัก แต่เชิดชูสนับสนุนงานเขียนประวัติศาสตร์ในแนวสังคมศาสตร์ที่ซาร์โตโนเป็นผู้บุกเบิกขึ้น อีกทั้งยังตั้งคำถามเชิงท้าทาย (ที่แม้ว่าจะยังไม่หนักแน่นจริงจังเท่าไรนัก) ต่อความจำเป็นที่ต้องยืนยันในหลักคิด อินโดนีเซียเซ็นทรีส ในการเขียนประวัติศาสตร์  แต่อย่างน้อยที่สุด กลุ่มปฏิรูปต้องการแสวงหาทางปลดปล่อยอินโดนีเซียเซ็นทรีส ออกจากบทบาทเดิมที่ส่งเสริมและกำหนดความหมายของสิ่งที่เรียกได้ว่า […]

Issue 3: Nations and Stories

Tungo sa Reimbensyon ng Pambansang Historiograpiyang Indonesia

         Ang isang kalagayang relatibong malaya sa manipulasyong pulitikal ay masasabing kinakailangan para sa pag-unlad ng karamihan sa mga proyektong akademiko, laluna sa isang larangang napakadaling pasukin ng manipulasyon tulad ng pagsusulat ng kasaysayan.  Sa wakas […]

Issue 3: Nations and Stories

Making Sense of Malaysia

         Cheah Boon KhengMalaysia: The Making of a NationSingapore / ISEAS / 2002  Farish A. NoorThe Other Malaysia: Writings on Malaysia’s Subaltern HistoryKuala Lumpur / Silverfishbooks / 2002 Two recently published and very different books […]

Issue 3: Nations and Stories

Making Sense of Malaysia (Abstract)

         Cheah Boon KhengMalaysia: The Making of a NationSingapore / ISEAS / 2002  Farish A. NoorThe Other Malaysia: Writings on Malaysia’s Subaltern HistoryKuala Lumpur / Silverfishbooks / 2002 Recent events in Malaysia – the reformasi movement, trial […]

Issue 3: Nations and Stories

Memahami Malaysia

         Cheah Boon KhengMalaysia: The Making of a NationSingapore / ISEAS / 2002  Farish A. NoorThe Other Malaysia: Writings on Malaysia’s Subaltern HistoryKuala Lumpur / Silverfishbooks / 2002 Peristiwa mutakhir di Malaysia – gerakan reformasi, […]

Issue 3: Nations and Stories

「マレーシア」とは何か

         Cheah Boon KhengMalaysia: The Making of a Nation[マレーシア: 国民の形成]Singapore / ISEAS / 2002 Farish A. NoorThe Other Malaysia: Writings on Malaysia’s Subaltern History[もうひとつのマレーシア:マレーシア・サバルタンの歴史]Kuala Lumpur / Silverfishbooks / 2002  改革運動(reformasi movement)とアンワル・イブラヒム裁判、政権政党UMNOの正統性喪失、イスラム主義者の世俗的開発主義国家に対する異議申し立ての拡大など、近年、マレーシアで起こっている事件が国民の物語に重要な「配置転換」をもたらし、国民国家の基礎と定義に再考を促している。ここでとりあげる2冊は、そのスタイル、目的、対象とする読者においては非常に異なるとしても、上に述べたことを主題とするものとして、これまで国家、あるいは学問上の実践を通じて作り上げられてきた強力な政治・社会上の言説に大いに関わりを持つものとなっている。 Cheah Boon Khengは選挙の政治、首相、国家政策に焦点を絞ることによって、実のところどのようにして国民が進化してきたのかを明らかにする。Cheahはマレーシアを「ギブ・アンド・テイク」のプリズムを通して分析し、マレー・ナショナリズムとより広い意味でのマレーシア・ナショナリズムとの間に存在する緊張について考察する。彼の議論の要点は、マレーシアの4人の首相はそれぞれ「最初は排他的なマレー・ナショナリストとして出発したものの、結局は包括的なマレーシア・ナショナリストとなった」というものである。(マレーシア)国民の歴史の中でこのことが4回おきたということ、これは国民国家がそれ自身の論理を発達させてきたことを示している。Ketuanan Melayu (マレー人の政治的優位)は定着しているが、この論理によって抑制されている。Cheahの本は、多文化的で寛容なマレーシア、という一つの現実を主張するものである。 […]

Issue 3: Nations and Stories

ทำความเข้าใจกับความเป็น “มาเลเซีย”

         Cheah Boon Kheng (เจีย บุน เคง)Malaysia: The Making of a Nation(มาเลเซีย: การสร้างชาติ)Singapore / ISEAS / 2002 Farish A. Noor (แฟริช เอ นัวร์)The Other Malaysia: Writings on Malaysia’s Subaltern History(อีกด้านหนึ่งของมาเลเซีย: รวมบทความด้านประวัติศาสตร์ผู้ด้อยโอกาสของมาเลเซีย)Kuala Lumpur / Silverfishbooks / […]

Issue 3: Nations and Stories

Ang Pagpapakahulugan sa Malaysia

         Cheah Boon KhengMalaysia: The Making of a Nation(Malaysia: Ang Paglikha ng Isang Bansa)Singapore / ISEAS / 2002 Farish A. NoorThe Other Malaysia: Writings on Malaysia’s Subaltern History(Ang Ibang Malaysia: Mga Sulatin Hinggil sa Kasaysayang […]

Issue 3: Nations and Stories

Exposition, Critique and New Directions for Pantayong Pananaw

         The Filipino language has two forms for the English word “we/us”: “tayo” and “kami.” In Bahasa Indonesia, the same distinction holds for the pair “kita” and “kami” (Johns 1997). “Tayo,” which is described as […]

Issue 3: Nations and Stories

Pantayong Pananaw: Eksposisi, Kritik, dan Arah Baru

         Tulisan mengenai Pantayong Pananaw (Perspektif “Dari Kita untuk Kita”; PP) ini bertujuan memberikan gambaran awal tentang dimulainya sesuatu yang paling penting dan berkecenderungan kontroversial dalam sejarah ilmu sosial di Filipina. PP dimulai sejak akhir […]

Issue 3: Nations and Stories

Pantayong Pananawとは ~解説、批判、新傾向~

         Pantayong Pananaw(「我々から我々のために」というパースペクティブ、以下PP)についてのこの小論は、フィリピン社会科学の歴史に大きな影響を及ぼし、論争を呼んだ知的傾向を、予備的に俯瞰することを目的としている。PPは1970年代後半、フィリピン大学においてZeus A. Salazarを中心とするフィリピン人歴史家の「国粋化」運動として始まった。この運動は本来の1950年代から70年代にかけてフィリピン史記述における主要なパラダイムであった初期の親米的伝統と、それに反対する国民主権的伝統、その双方か決別するかたちで形成された。それ以来、PPはしだいに社会科学と人文科学の他の分野においても哲学的、方法論的に影響を及ぼした。PPの実践者は、その文化中心的国粋化運動には当り前のこととして、国語であるフィリピン語をその言語として使用する この小論はPPを分かりやすく説明することを目的とするものではない。この小論はその代わりPPに関わるいくつかの主要な方法論上の論争を概説し、同時にフィリピンの社会科学における他の「国粋化」傾向に対するその理論的、実践的優位について示したいと思う。その主要な論点の一つは、PPの代表的作品の特徴である圧倒的に文化的(もしくは内向きの)解釈学的方法と他の社会科学方法との位置関係に関わる。「土着主義者」、「本質還元主義者」といったPPへの批判もまた簡潔に考察される。この小論の主要な目的の一つは、いまフィリピンの社会科学の中でおこっている最も重要な「国粋化」傾向のひとつについて、近年どのような議論が行われているか、そしてその水準と複雑さについて、たとえ不完全にではあっても読者に伝えようとすることにある。フィリピンの社会科学とフィリピン「人民」の間にあるラディカルな断絶を国語を使用することによって克服し、対話による相互作用が出来るような別の場を創り出そうとするPPの試みもまた特筆すべきであろう。最後にこの小論は、筆者がフィリピンの文脈の中での社会科学上の実践として、PPのより生き生きとしたより広範な定義を作り出すための提言を示すものである。 Ramon Guillermo(Translated by Onimaru Takeshi.) Ramon Guillermo is assistant professor in the Department of Filipino and Philippine Literature, University of the Philippines, Diliman. Read the full unabridged article in […]

Issue 3: Nations and Stories

ปันตายง ปานานอว์ : การอธิบาย การวิพากษ์และทิศทางใหม่

         บทความเรื่องปันตายง ปานานอว์นี้ (ปันตายง ปานานอว์ หมายถึง “จากพวกเราเพื่อพวกเรา” และเรียกโดยย่อว่า พีพี”) มุ่งเสนอภาพรวมเบื้องต้นของแนวการศึกษา ที่อาจเป็นแนวโน้มที่มีอิทธิพลและก่อให้เกิดการถกเถียงมากที่สุดในประวัติศาสตร์ของสังคมศาสตร์ในฟิลิปปินส์ พีพีเริ่มก่อตัวขึ้นในช่วงปลายทศวรรษ 1970 จากความเคลื่อนไหวในกลุ่มนักประวัติศาสตร์ชาว ฟิลิปปินส์ นำโดย ซุส เอ ซาลาซาร์ แห่งมหาวิทยาลัยแห่งฟิลิปปินส์ ที่พยายามสร้าง “ความเป็นพื้นเมือง” ขึ้นในการเข้าใจสังคมฟิลิปปินส์ ในระยะแรก พีพี เป็นความพยายามที่ต้องการฉีกตัวออกจากขนบการเขียนประวัติศาสตร์ของฟิลิปปินส์ที่ดำรงอยู่ในขณะนั้น 2 แนว คือ แนวนิยมอเมริกา และแนวชาตินิยมที่ต่อต้านแนวทางแรก ขนบทั้งสองนี้เป็นกระบวนทัศน์ที่มีอิทธิพลมากที่สุดในช่วงทศวรรษ 1950 ถึงทศวรรษ 1970 หลังจากนั้น พีพีได้ส่งผลอิทธิพลอย่างช้าๆ ทั้งในเชิงปรัชญาและระเบียบวิธีการของสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ สาขาอื่นๆ […]

Issue 3: Nations and Stories

Problems in Contemporary Thai Nationalist Historiography

           There are certain periods when historical discourses and their politics – who controls them, the mode by which they are disseminated, how competing histories are suppressed – become central to intellectual or public debate. […]

Issue 3: Nations and Stories

Masalah dalam Penulisan Sejarah Thailand Masa Kini

           Ada periode-periode tertentu ketika wacana-wacana sejarah dan politiknya – siapa yang mengendalikannya, cara-cara penyebarannya, bagaimana sejarah yang bertentangan ditekan – menjadi titik pusat perdebatan intelektual dan umum. Di Thailand hal tersebut telah terjadi beberapa […]

Issue 3: Nations and Stories

現代タイ国民主権的歴史記述の諸問題

           歴史の言論とそれをめぐる政治―――誰がそれを支配するのか、いかにしてそれは広められるのか、それと競合する歴史はいかにして抑圧されるのか―――そうしたことが知的、公的な論争において中心的テーマとなる時期がある。タイで歴史がそういった関心を引き起こしてすでにかなりの時間が経過した。そしてこの間、タイでは国民主権的歴史記述がヘゲモニーを手に入れたように見える。これはそれに対する反対がみたところほとんどなかったという事実がなかったとすれば、大いに注目に値するものだったであろう。さてそれではこの政治的、学問的事業は、それがはじまって100年、どれぐらい安定したものとなっているのか?  この論文において、私は現代のタイの国民主権的歴史記述が抱えるいくつかの問題を考えたい。その第一は語りの主体、つまりタイ国民の問題である。タイ国民の歴史記述は、アンダーソンの『想像の共同体』、あるいはホブズボームとレンジャーによる『創られた伝統』といった作品にみるように、1980年代、「国民」という概念が批判されるようになって以来、どうなってきたのか? 第2はこの語りの中で王制がどのような役割を果たしているかである。王制は現在、政治、文化的にタイ史記述の可能性をどのように制約しているのか? 第3の問題は民族的、地域的少数派、統一され文化的に均質な国民というかつては何の問題もなかった理解に挑戦する少数派をどう表象するのかというものである。 1990年代の地域化以来生じてきた新しい問題は、学校の教科書の中で、あるいはまたテレビドラマ、映画の中で、タイの国民主権的歴史記述が、隣国との関係に及ぼす影響である。これは時として外交的緊張を生じさせるものである。次の問題は主に学会の専門的歴史家に係わるものである。それは1990年代の「ポストモダン」理論と、それが歴史の真実を掘り崩していることを主張していることの影響である。かりにタイの歴史が数え切れないほど多くの物語の中の一つに過ぎず、過去に対するなんの権威を主張できないとすれば、それは今のような特権的な地位を享受するに値するのだろうか? さらにまたもう一つの問題として、今日では専門家の歴史が一般の人々のもつ歴史とほとんどなんの関連も持たなくなっていることである。大学をはじめとする教育機関で「専門」としての歴史学が衰退していること、これはその100年来の成果、国民の物語にどのような影響を及ぼすだろうか? Patrick Jory(Translated by Onimaru Takeshi.) Read the full unabridged version of this article in English HERE Kyoto Review of Southeast Asia. Issue 3:  Nations and Other Stories. March 2003

Issue 3: Nations and Stories

ปัญหาของการเขียนประวัติศาสตร์แนวชาตินิยมร่วมสมัยของไทย

           วาทกรรมทางประวัติศาสตร์และการเมืองอันเนื่องมาจากวาทกรรมทางประวัติศาสตร์นั้นกลายเป็นประเด็นถกเถียงที่สำคัญของปัญญาชนและสาธารณชนทั่วไป  ประเด็นที่ถกเถียงกัน ได้แก่ ใครควบคุมวาทกรรมทางประวัติศาสตร์และการเมืองเหล่านั้น วาทกรรมนี้ได้รับการเผยแพร่ด้วยวิธีใด และประวัติศาสตร์ที่เสนอเรื่องราวที่แตกต่างออกไปนั้นถูกสะกัดกั้นไม่ให้เผยแพร่ออกไปได้อย่างไร  เป็นเวลานานมาแล้วที่ประวัติศาสตร์ไม่ได้กระตุ้นให้เกิดความสนใจเช่นว่านี้ในประเทศไทย การเขียนประวัติศาสตร์แนวชาตินิยมดูจะมีอิทธิพลเหนือแนวอื่น  ซึ่งอาจนับเป็นเรื่องที่พิเศษไม่น้อย หากไม่เป็นเพราะว่า แท้ที่จริงแล้ว ประวัติศาสตร์แนวชาตินิยมเผชิญการต่อต้านคัดค้านน้อยมาก  คำถามจึงอยู่ที่ว่า ลักษณะการเขียนประวัติศาสตร์แนวชาตินิยมและวาทกรรมการเมืองที่ว่านี้ จะสามารถคงสถานภาพอันมั่นคงได้มากน้อยเพียงใด หลังจากที่ก่อตัวขึ้นมาได้นานถึง 100 ปี ในบทความนี้ ข้าพเจ้าจะได้พิจารณาปัญหาต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการเขียนประวัติศาสตร์แนวชาตินิยมร่วมสมัยของไทย  ปัญหาประการแรกเกี่ยวกับชาติไทย อันเป็นเนื้อหาในประวัติศาสตร์ไทยที่เขียนๆ กันมา น่าสนใจว่า หลังจากงานสำคัญสองชิ้น อันได้แก่ Imagined Communities ของ แอนเดอร์สัน และ The Invention of Tradition ของ ฮอบส์บอมและเรนเจอร์ ได้ก่อกระแสวิพากษ์แนวคิดเรื่อง “ชาติ” ขึ้นในช่วงทศวรรษ 1980 […]

Issue 3: Nations and Stories

Thailand and Cambodia: A Love-Hate Relationship

The violence which culminated in the burning of the Royal Thai Embassy in Phnom Penh on January 29, 2003, was both shocking and unexpected. The rioting not only inflicted extensive damage to Thai-owned property (fortunately, […]

Issue 3: Nations and Stories

The Thai Cultural Constitution

Translator’s Note. By the mid 1980s, Nidhi Eoseewong was established as one of the most original historians of Thailand. From around 1985, he wrote a series of long essays which use historical perspective to analyse […]

Issue 3: Nations and Stories

The Chinese in the Collective Memory of the Indonesian Nation

Indonesians of Arab and Indian descent have experienced few problems in their relationship with Indonesians of indigenous ethnic backgrounds. Up until now,  these relationships have run smoothly (despite recent allegations made by the United States […]

Issue 3: Nations and Stories

Said Zahari’s Long Nights

Said ZahariDark Clouds at Dawn: A Political MemoirKuala Lumpur / Insan / 2001 Said ZahariMeniti Lautan Gelora: Sebuah Memoir PolitikKuala Lumpur / Utusan / 2001 Translated and adapted from the remarks of Abdul Rahman Embong […]