Issue 37 Mar. 2024

การเปลี่ยนผ่านสู่ธุรกิจแพลตฟอร์มของระบบเศรษฐกิจมาเลเซีย: เหล้าใหม่ในขวดเก่า?

สืบเนื่องจากปรากฏการณ์ที่ประเทศจีนมีความสำคัญเพิ่มมากขึ้นในระบบเศรษฐกิจระหว่างประเทศ รวมทั้งการมีสายสัมพันธ์แน่นแฟ้นขึ้นกับเอเชียตะวันออกเฉียงใต้  กลุ่มผู้วางนโยบายภายในภูมิภาคนี้จึงเห็นสมควรที่จะดำเนินการเชิงรุกในการเชิญชวนการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ (Foreign Direct Investment–FDI) จากประเทศจีนให้มากขึ้น  ความน่าสนใจของการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศของจีนเกิดขึ้นท่ามกลางช่วงเวลาที่ความก้าวหน้าด้านอุตสาหกรรมมีภาวะชะงักงันในเศรษฐกิจหลายประเทศของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ก่อให้เกิดภาวะที่ถูกหลอกหลอนจากปัญหากับดักรายได้ปานกลาง (Middle-Income Trap–MIT)  ในประเด็นนี้ ประสบการณ์ของมาเลเซียอาจช่วยให้เกิดความเข้าใจที่มีประโยชน์  เพื่อแสวงหาประโยชน์สูงสุดจากความสัมพันธ์อันยาวนานกับจีน มาเลเซียซึ่งเป็นหนึ่งในชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้จึงพยายามผลักดันความร่วมมือทวิภาคีทางเศรษฐกิจ  กล่าวในรายละเอียดก็คือ อดีตนายกรัฐมนตรีนาจิบ ราซัก (ดำรงตำแหน่งปี 2009-2018) ได้ทุ่มเทความพยายามและความตั้งใจอย่างมากในการชักชวนบรรษัทข้ามชาติของจีนเข้ามาในประเทศ  รัฐบาลนาจิบถูกมองว่าเป็นรัฐบาลที่ขยายการพึ่งพิงบรรษัทข้ามชาติของจีนอย่างมาก เพื่อหาทางบรรลุภารกิจอันตั้งเป้าหมายไว้สูง โดยมีช่วงระยะเวลาคืนทุนนานกว่าปรกติ อันที่จริง โครงการร่วมมือกับจีนที่โดดเด่นที่สุดบางโครงการ ซึ่งริเริ่มขึ้นในสมัยรัฐบาลนาจิบและนายกรัฐมนตรีคนต่อๆ มาก็ยังดำเนินการสานต่อ ประกอบด้วยโครงการระบบรางเชื่อมชายฝั่งตะวันออก East Coast Rail Link (ECRL) โครงการนิคมอุตสาหกรรม […]

Issue 37 Mar. 2024

マレーシア経済のプラットフォーム化(瓶は古いが、中身のワインは新しい?)

世界経済における中国の重要性の高まりと、同国の東南アジアとの結びつきの強化を受け、東南アジアの為政者は、より積極的な中国からの外国直接投資(FDI)の誘致を適切と判断した。だが、複数の東南アジア経済では、中国FDIへの要請が産業発展の低迷期に生じたため、中所得国の罠(MIT: middle-income trap)への懸念が高まっている。 だが、マレーシアでの出来事は、この問題に有益な洞察を与えるだろう。これまで、マレーシアは長年にわたる中国との関係を活用し、二国間の経済協力の推進を試みてきた。中でも、当時のナジブ・ラザク首相(2009年~2018年)は、中国多国籍企業(TNCs)の誘致に多大な努力と配慮を行った。このため、ナジブ政権は、通常より投資回収期間の長い、野心的な事業を追求し、中国TNCへの依存を徐々に高めた政権と見られている。 実際、最も重要な中国プロジェクトの一部がナジブ時代に開始され、歴代首相によって継続された。これには、東海岸鉄道連絡船(ECRL: the East Coast Rail Link)や、マレーシア・中国クアンタン工業団地(MCKIP: Malaysia-China Kuantan Industrial Park)、バンダル・マレーシア(Bandar Malaysia)などがある。 プラットフォーム化を重要な要素とするデジタル経済の推進にあたり、マレーシアが協働者に選んだのが、Alibaba(アリババ)だ。近年、国際舞台に登場した中国TNCの中で、最も勢いがあると思われるAlibabaは、デジタル自由貿易区(DFTZ: Digital Free Trade Zone)に関わっている。これは、中国とマレーシア、両国のアンカー企業が関わる官民連携(PPP: public-private partnership)として、盛んに宣伝された。セランゴールのセパンが拠点の同プロジェクトは、この国のデジタル・トランスフォーメーションの起爆剤になると期待されている。また、Alibabaがもたらす技術・知識の移転によって、国内企業が低賃金労働中心の競争から、より付加価値を生む、一層洗練された活動に移行すると予測されている。さらには、これがマレーシアを中所得国の罠から脱け出させるという期待もある。とにかく、マレーシアの技術力や、イノベーション力の向上にとり、DFTZは、少なくとも、理論上は成功例のはずだ。だが、本当にそうなのか、それとも、現実は異なるのか、この記事では、主にこの点を考察したい。 DFTZ Goes Live 2017. Promotional launch video. デジタル自由貿易区は現実的か さて、DFTZと、マレーシアの産業生態系(industrial ecosystem)形成の軌跡には、どのような相互関係があるか?少なくとも、このプロジェクトの始まりは、ナジブが2017年の予算演説でDFTZの設置を発表した2016年10月に遡る。それから数週間以内に、ナジブはAlibabaのカリスマ的創業者、ジャック・マー(Jack Ma)をデジタル経済の政府顧問に任命した。 主に、マー氏のマレーシアへの協力が期待されるのは、電子決済や、アリペイ(Alipay)、オンライン・バンキング、オンライン融資などを導入する際のeエコノミーのパッケージ化だ。だが、これまで、協力が最も顕著に表れた例の一つがDFTZだ。 このプロジェクトは、2017年3月に開始されたが、これは、マレーシア政府が申し入れをしてから、わずか数か月後のAlibaba襲来と同時の出来事だった。 […]

Issue 37 Mar. 2024

မလေးရှားနိုင်ငံ၏စီးပွားရေးကို ပလက်ဖောင်းဖြစ်စေခြင်း ပုလင်းဟောင်းတွင် ဝိုင်အသစ်ထည့်ခြင်းလား

နိုင်ငံတကာစီးပွားရေးစနစ်တွင် တရုတ်နိုင်ငံ၏ အရေးပါမှု ကြီးထွားလာပြီး အရှေ့တောင်အာရှနှင့်လည်း ပိုမိုတင်းကျပ်စွာ ပေါင်းစည်းလာပြီးနောက် ဒေသတွင်းရှိ မူဝါဒချမှတ်သူများသည် တရုတ်နိုင်ငံမှ နိုင်ငံခြားတိုက်ရိုက်ရင်းနှီးမြှုပ်နှံမှု (FDI) ရရှိရန် ယခင်ကထက်ပိုပြီး အသည်းအသန်  ကြိုးပမ်းသင့်ကြောင်း ရှုမြင်လာကြသည်။ တရုတ်၏ ရင်းနှီးမြှုပ်နှံမှု ရရှိရန် ကြိုးပမ်းမှုက အရှေ့တောင်အာရှ နိုင်ငံအများအပြားတွင် စက်မှုလုပ်ငန်းတိုးတက်မှု ရပ်တန့်နေပြီး အလယ်အလတ် ၀င်ငွေထောင်ချောက် (အလယ်အလတ်တန်းနိုင်ငံအဆင့်တွင် ရပ်တန့်နေမှု) မိနေချိန်တွင် ပေါ်ထွက်လာခြင်းလည်း ဖြစ်သည်။ ဤကိစ္စတွင် မလေးရှားနိုင်ငံ၏ အတွေ့အကြုံကို […]