Issue 23 Mar. 2018

Indonesia’s Islamist Mobilization

Although Islamist movements are not new in Indonesian history, Islamist mobilization become more noticeable on the country’s political stage after the late President Suharto stepped down in 1998. For the Islamists, the end of Suharto’s […]

Bahasa Indonesia

Mobilisasi Islamis di Indonesia

Meskipun gerakan Islamis bukan merupakan hal baru dalam sejarah Indonesia, mobilisasi Islamis menjadi lebih nyata di panggung politik negara setelah mendiang Presiden Suharto jatuh di tahun 1998. Bagi kaum Islamis, berakhirnya rezim militer Suharto memberikan […]

Issue 23 Mar. 2018

การระดมมวลชนของลัทธิอิสลามนิยมในอินโดนีเซีย

ถึงแม้ขบวนการลัทธิอิสลามนิยมไม่ใช่ของใหม่ในประวัติศาสตร์อินโดนีเซีย แต่การระดมมวลชนของลัทธิอิสลามนิยมในเวทีการเมืองของประเทศมีมากขึ้นจนเป็นที่น่าสังเกตหลังจากอดีตประธานาธิบดีซูฮาร์โตก้าวลงจากอำนาจในปี 1998  สำหรับกลุ่มลัทธิอิสลามนิยม การสิ้นสุดระบอบอำนาจนิยมของซูฮาร์โตสร้างแรงกระตุ้นให้พวกเขาแสดงตัวตนในด้านศาสนา วัฒนธรรม อุดมการณ์ การเมืองและผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจมากขึ้น ถึงแม้การขยายตัวของขบวนการอิสลามนิยมในอินโดนีเซียยุคหลังระเบียบใหม่เกิดจากสาเหตุหลายปัจจัยก็ตาม แต่การล่มสลายของระบอบซูฮาร์โตนับว่าเป็นปัจจัยที่มีความสำคัญอย่างยิ่ง การโค่นล้มซูฮาร์โตเปิดประตูให้เกิดเสรีภาพของพลเมือง ระบอบประชาธิปไตยและความเป็นพหุนิยมของสังคม แต่ผลข้างเคียงกลายเป็นการขยายตัวของการขาดขันติธรรมทางศาสนา ลัทธิสุดขั้วและความก้าวร้าวของกลุ่มอิสลามนิยม แม้ว่าอินโดนีเซียยุคหลังซูฮาร์โตจะมีพัฒนาการด้านสังคม การเมืองและเศรษฐกิจที่โดดเด่น แต่ก็มีด้านมืดอันเกิดจากการที่กลุ่มอิสลามนิยมข้ามชาติหลั่งไหลเข้ามาสมทบกับกลุ่มในประเทศ  จนกลายเป็นปัญหาท้าทายของประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งระบอบประชาธิปไตยเพิ่งเริ่มต้นและความเป็นพหุนิยมยังเปราะบาง รวมทั้งสั่นสะเทือนต่อภาพพจน์ของชาวมุสลิมอินโดนีเซียที่เคยขึ้นชื่อว่ามีขันติธรรมและยึดหลักสายกลางเมื่อเปรียบเทียบกับศาสนิกร่วมศาสนาในเอเชียกลาง อนุทวีปอินเดียหรือตะวันออกกลาง  เนื่องจากการขยายตัวของกลุ่มอิสลามนิยมเหล่านี้ ทำให้ทัศนะที่ทันสมัยและเสรีนิยมของมุสลิมสายกลางและก้าวหน้าถูกท้าทายมากขึ้น หรือกระทั่งถูกปฏิเสธไปเลย ดังนั้น ระบอบประชาธิปไตยอินโดนีเซียเปิดช่องให้กลุ่มอิสลามนิยมเฟื่องฟู  กลุ่มอิสลามนิยมหลายกลุ่มก่อตั้งศูนย์อิสลาม องค์กร โรงเรียน ไปจนถึงพรรคการเมืองขึ้นทั่วทั้งประเทศหมู่เกาะโดยอาศัยเสรีภาพและประชาธิปไตยเป็นข้ออ้าง  พวกเขาสามารถผลิตหนังสือและสื่อสิ่งพิมพ์อื่นๆ ได้อย่างเสรี (และแจกจ่ายเข้าสู่สังคมผ่านเครือข่ายที่มีกว้างขวาง) เพื่อเผยแพร่แนวคิด การตีความและความเข้าใจศาสนาอิสลามในแบบของตัวเอง […]

Issue 23 Mar. 2018

インドネシアにおけるイスラム主義者の動員

イスラム主義運動はインドネシア史において目新しいものではないが、イスラム主義者の動員がこの国の政治舞台で一層目立つようになったのは、故スハルト大統領が辞任した1998年以降の事である。イスラム主義者たちにとって、スハルトの権威主義的政権の終焉は、彼らの宗教、文化、イデオロギー、政治、経済上の利益を表明する推進力となった。 新秩序後のインドネシアにおけるイスラム主義運動の高まりには常に複数の要因が寄与しており、スハルト政権の崩壊は重大であった。スハルトの失墜は、市民の自由や民主主義、市民の多元的共存に門戸を開放したものの、この副作用として、不寛容や急進主義、イスラム教の好戦性を高める事となった。 社会、政治、経済の著しい発展にもかかわらず、ポスト・スハルトのインドネシアは、地方や国境を越えたイスラム主義集団の流入によっても悩まされる事となった。これらの集団は、インドネシアの揺籃期にある民主主義や、脆弱な多元主義、そして、インドネシアのムスリムが中央アジアやインド亜大陸、中東の同宗信者に比べて寛容で穏健であるとのイメージを脅かすものだ。これらのイスラム主義集団が成長した結果、穏健で進歩主義的なムスリムの現代的でリベラルなものの見方が益々脅かされ、また排斥さえされるようになった。 インドネシアの民主主義は斯くしてイスラム主義者に蔓延る余地を与えている。自由と民主主義の名の下で、様々なイスラム主義集団がインドネシア全土にイスラム主義のセンターや組織、学校、それに政党までをも設立している。彼らはイスラム主義の本やその他の出版物を自由に出版し(さらにはこれを自分たちの広範なネットワークを通じて社会に流通させ)ており、そのような出版物は、彼らのイスラム主義の理念や解釈、見解、そして社会政治的計画に沿ったものとなっている。このような集団は民主主義制度の中で成長しており、彼らは自分たちのイスラム主義の諸機関を逆説的に利用して、不寛容や自民族中心主義、反多元主義を発信し、また彼らが西洋世俗主義の産物と批判する民主主義にも反対している。 多様なイスラム主義集団の様式 明確にしておく必要があるのだが、全てのイスラム主義集団が物理的な暴力を振るうわけではないし、イスラム主義者の動員が常に暴力的で過激な形をとると断じる事も間違いである。ユダヤ教やキリスト教の特定宗派がその信奉者たちに個人的な信仰心の向上を強要するのと同様に、多くのイスラム教復興運動がムスリムたちに戒律のさらなる遵守を促している。 平和的、あるいはより暴力性の低いイスラム主義者の動員には以下の活動がある。すなわち、政党の結成、選挙への出馬、同盟関係の構築、国家と市民社会の協力関係の確立、そして市民社会組織の立ち上げである。これには政府諸機関と連携してシャリーアに基づく政策を支持する事も含まれるだろう。暴力的あるいは過激なイスラム主義者の動員としては、資産に対する攻撃、脅迫行為、イスラム主義者の目的や戦略的選択に反対する個人や集団、少数宗派、少数民族集団、特定の住民層を標的化する事、それに暴動や社会不安、対立住民間の暴力、反乱がある。 非暴力のイスラム教主義の例として、タブリーグ・ジャマート(Tablighi Jamaat)、ヒズブット・タフリール・インドネシア(Hizbut Tahrir Indonesia)、あるいは一部のサラフィ派(またはネオ・サラフィ派)集団がある一方、イスラム防衛戦線(Front Pembela Islam)、ラスカル・ジハード(Laskar Jihad:聖戦軍)、インドネシア・ムジャヒディン評議会(Majelis Mujahidin Indonesia)、イスラム信徒フォーラム(Forum Umat Islam)、インドネシア・ムスリム同胞団協会(Jamaah Ikhwanul Muslimin Indonesia/Association of Indonesian Muslim Brotherhood)、反シーア派国民連合(Koalisi Nasional Anti-Syiah/Anti-Shia National Alliance)などの組織は暴力的な過激派イスラム主義集団に分類する事ができる。 ジャカルタ州知事選挙期間中のイスラム主義者の動員 ジャカルタの2017年の州知事選挙は、ポスト・スハルト時代に最も物議を醸した選挙の一つであった。この原因は、この選挙に先行して一連の暴力や緊張関係、騒動、テロ、憎悪、脅迫、人種差別、自民族中心主義や宗派間感情の動員が複数のイスラム主義集団によって行われた事である。 第1回投票でのイスラム主義者の支持は、ハドラマウト地方出身(Hadrami)のアラブ系のアニス・バスウェダン(Anies Baswedan/アニス)と、元インドネシア大統領のスシロ・バンバン・ユドヨノ(Soesilo Bambang Yudhoyono)の息子アグス・ハリムルティ・ユドヨノ(Agus […]

Issue 23 Mar. 2018

Phong trào Hồi giáo ở Indonesia

Mặc dù không phải là điều mới mẻ trong lịch sử Indonesia, phong trào Hồi giáo chủ nghĩa đã trở nên rõ nét hơn trên chính trường đất nước sau khi Tổng thống Suharto từ […]