อนาคตของสถาบันพระมหากษัตริยในประเทศไทย
อนาคตของสถาบันพระมหากษัตริยในประเทศไทย
Kyoto Review of Southeast Asia. Issue 14 (September 2013). Myanmar […]
อนาคตของสถาบันพระมหากษัตริยในประเทศไทย
Kyoto Review of Southeast Asia. Issue 14 (September 2013). Myanmar […]
มรดกถือว่าเป็นสิ่งที่ไม่เพียงพอต่อการพิจารณาบทบาททางสังคมในอดีตเป็นเพียงแค่ส่วนหนึ่งของประวัติศาสตร์ มรดกก่อให้เกิดภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลงทางประวัติศาสตร์ มรดกต่างจากประวัติศาสตร์ตรงที่ มีความประณีต มีเรื่องราวของการเฉลิมฉลอง และมีแค่มิติเดียว […]
หากจะพูดถึงเรื่องราวของอมนุษย์ ภูตผีปีศาจ หรือศากศพ เรื่องเล่าที่ดีที่สุดคือ เรื่อง เวตลาปกรณัม (ซึ่งเป็นนิทานสุภาษิตที่รวมเรื่องเล่าเกี่ยวกับอมนุษย์และ ภูตผีปีศาจ) เวตาลปกรณัม เป็นส่วนหนึ่งของประชุมปกรณัมหรือหนังสือที่รวบรวมนิทานสุภาษิตที่มีลักษณะเป็นนิทานซ้อนนิทาน ซึ่งเป็นที่รู้จักทั่วไปในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตามหลักฐานที่ได้ถูกบันทึกไว้ช่วงศตวรรษที่ 15 เรื่องราวที่น่าสนใจในประชุมปกรณัมประกอบไปด้วย เวตาลปกรณัม (หนังสือรวมนิทานที่เวตาลเล่าไว้) เวตาลปกรณัม (เรื่องราวเกี่ยวกับวัวที่ชื่อนนทกที่เอาใจออกจากนาย ซึ่งมีทั้งได้รับการแปลเป็นภาษาอินเดีย ภาษาชวา ภาษาทมิฬ และภาษาลาว) มัฑุกปกรณัม (เป็นนิทานเกี่ยวกับกบ) ปีศาจปกรณัม (รวมเรื่องเล่าเกี่ยวภูตผีปีศาจและผู้วิเศษ) ปักษีปกรณัม ( หนังสือรวมนิทานที่ตัวละครเป็นนก) หรือบางครั้งมีชื่อว่า สกุณาปกรณัม (คำว่า “ปักษี” และ […]
ราวกับว่าเป็นผู้แอบซ่อนในรถไฟทางการเมือง บทบาทของนักเวทย์ หรือ Shaman” มักจะไม่ถูกกล่าวถึงอย่างชัดเจนในการศึกษาเรื่องการเมืองหลังยุกปฏิวัตาการเมืองการปกครองของอินโดนีเซีย จากการศึกษาที่ผ่านๆมาจะเน้นไปในเรื่องของ หลักของเหตุผล และวัตถุประสงค์ซึ่งเป็นพื้นฐานของการเมือง ในความจริง นักเวทย์ หรือ Shamanได้เข้ามามีมีส่วนเกี่ยวของกับการแข่งขันเพื่อช่วงชำอำนาจทางการเมืองของอินโดนีเซีย และมีบทบาทที่ไม่สามารถจะถูกละเลยได้ นักเวทย์ จะถูกว่าจ้าง เพราะความเชื่อที่ว่า นักเวทย์จะช่วยนำมาส่งโชคลาภ และความปลอดภัยให้กับผู้ที่ลงสมัครเลือกตั้ง เพื่อที่ชิงอำนาจทางการเมือง เนื้อหาที่กําลังจะกล่าวต่อไปนี้ จะนำเสนอบทบาทของนักเวทย์ที่มีต่อการเมืองยุคใหม่ในอินโดนีเซีย แต่ไม่ได้มีเจตนาจะแสดงให้เห็นถึงให้เห็นถึงพลังอำนาจ ลี้ลับของนักเวทย์แต่อย่างใด ความตั้งใจของข้าพเจ้าคือ เพื่อจะชี้ให้เห็นบทบาทของนักเวทย์ในการแข่งขันทางการเมือง ที่กลายมาเป็นปรากฏการณ์ โดยไม่ได้คำนึงถึงการเติบโตของสำนักวิจัยโพลที่ได้รับการพิจารณาว่าเป็นบรรทัดฐานของประชาธิปไตยสมัยใหม่ของอินโดนีเซีย นักเวทย์ในยุคการปกครองสมัยใหม่ ” หรือ ชามานนิซึ่ม เป็นปรากฏการณ์ทางสังคมที่ไม่ได้อยู่ไกลไปจากการดำรงชีวิตประจำวันของชาวอินโดนีเซีย บุคคลผู้ซึ่งถูกเชื่อว่ามีพลังอำนาจวิเศษ จะใช้เวทย์มนต์เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์หรือเป็นไปตามที่ผู้ร้องของได้ขอไว้ […]
Kasian Tejapira Kyoto Review of Southeast Asia Issue 8 (March 2007) Originally published in Matichon Daily, 20 October 2006, p. 6.
Copyright © 2024 | Kyoto Review of Southeast Asia | All Rights Reserved