Issue 8-9

พิพิธภัณฑ์ในฐานะสัญลักษณ์แห่งชนชาติ การสร้างกลุ่มสังคมชุมชนชาวจีนโพ้นทะเลในอินโดนีเซียในยุคโพสต์ ซูฮาร์โต้

วัตถุประสงค์ของงานวิจัย งานชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อแสดงให้เห็นถึงขั้นตอนกระบวนการและวิธีการแสดงตัวตนให้ปรากฎของชนกลุ่มน้อยทางเชื้อชาติ ผ่านการพิจารณาถึงแผนการก่อสร้างสวนวัฒนธรรมจีนอินโดนีเซีย (Taman Budaya Tionghoa Indonesia) ซึ่งดำเนินการโดยสมาคมชาวจีนโพ้นทะเลอินโดนีเซีย (Paguyuaban Sosial Marga Tionghoa Indonesia:PSMTI ในบทความจะใช้ชื่อย่อว่า PSMI) หนึ่งในสมาคมชาวจีนโพ้นทะเลในอินโดนีเซีย สวนวัฒนธรรมจีนอินโดนีเซียเป็นสถานที่ที่ได้มีการเตรียมการที่จะจัดสร้างขึ้นภายในสวนสาธารณะอินโดนีเซียอันน่ารื่นรมย์ (Taman Mini “Indonesia Indah” ในบทความจะใช้ชื่อว่า Taman Mini) ชานกรุงจาการ์ตา ในรูปแบบของพิพิธภัณฑ์เพื่อจุดประสงค์ในการจัดแสดงประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมของชาวจีนโพ้นทะเลในอินโดนีเซีย ในการพิจารณาถึงแผนดังกล่าวแนวความคิดของคลิฟฟอร์ดเรื่อง [พิพิธภัณฑ์ในฐานะของContact zone]นั้นเหมาะในการอธิบายในเรื่องนี้ได้อย่างดี คลิฟฟอร์ดได้บ่งชี้ถึงบทบาทของพิพิธภัณฑ์ผ่านการวิเคราะห์พิพิธภัณฑ์4แห่งที่ทำการจัดแสดงเรื่องราวเกี่ยวกับชาวอินเดียนแดงชนกลุ่มน้อยในคาบสมุทรอเมริกาเหนือ ไว้ในหน้งสือ “Travel and Transition in […]

Issue 8-9

Ethnicity and Kinship in Filipino Centennial Novels

Aurelio S. Agcaoili. Dangadang. Quezon City: University of the Philippines Press, 2003.B.S. Medina, Jr. Huling Himagsik. Manila: De La Salle University Press, 1998.Jun Cruz Reyes. Etsa-Puwera. Quezon City: University of the Philippines Press & Philippine […]